Page 68 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 68

คู่มือปฏิบัติการ  67



            แต่อย่าพึ่งผลประโยชน์ด้านเคมี ถ้าเราเอาเวลาคลินิกมาช่วยประชาชน ประชาชนจะศรัทธาในหมอ หมอเป็นมะเร็ง
            มากินยาต้ม อายไม่กล้าเข้าพิธี นี่คือวิธีคิดของคน “ไอโฟน” มาจากความคิดสร้างสรรค์ Palliative Care ไม่ต้องเหมือน
            วัดค�าประมง ตรงไหนก็ตรงนั้น แต่ให้นึกถึงประโยชน์ของคนป่วย บางที..ท�าไมหลวงตาท�าได้ พวกเราก็ท�าได้ขอเพียง
            แต่มีหัวใจ” (พระปพนพัชร จิรธัมโม เจ้าอาวาสวัดค�าประมง (หลวงตา) 3 สิงหาคม 2560)


            (6) การมีส่วนร่วมของชุมชน (Participation)
                    แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) การดูแลของญาติหรือผู้ดูแลในครอบครัว ที่ท�าหน้าที่ช่วยเหลือ

            ในการท�ากิจวัตรประจ�าวัน รวมทั้งการสนับสนุนจากทีมบุคลากรผู้ให้การบ�าบัดรักษาเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต
            ของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย  การดูแลรักษาในอโรคยศาล  วัดค�าประมง  จึงมีข้อปฏิบัติว่าต้องมีญาติมาเฝ้า
            อย่างน้อยหนึ่งคน เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองถูกทอดทิ้งให้เป็นภาระ โดยให้ผู้ป่วยและผู้ดูแล ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน
            ประสบการณ์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยถ่ายทอดให้แก่ผู้ป่วยและญาติด้วยกัน ในขณะเดียวกันก็มีการเสริมพลังให้ก�าลังใจ
            ผู้ดูแล โดยจัดกิจกรรมเพื่อผ่อนคลายความเครียดหรือความเหนื่อยล้าจากการดูแลผู้ป่วย เช่น ห้องอบสมุนไพรส�าหรับ
            ผู้ดูแล กิจกรรมกอดบ�าบัด การให้ค�าปรึกษา เป็นต้น
                    นอกจากนี้ อโรคยศาล วัดค�าประมง ยังมีระบบการประสานงานกับโรงพยาบาลชุมชนใกล้เคียง เครือข่าย
            อาสาสมัคร (Volunteers network) และส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร เพื่อขอความสนับสนุนบุคลากร
            ทางสาธารณสุขมาดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง มีการด�าเนินงานเชิงรุก การประชาสัมพันธ์ สื่อมัลติมีเดีย

            เข้าถึงประชาชน เช่น หนังสือคู่มือ Internet สถานีวิทยุมอศ. Social Network  รวมถึงมีการพัฒนาระบบสื่อสาร
            และความร่วมมือ ได้แก่
                    - ระบบการรับ-ส่งผู้ป่วย (Refer) ระหว่างอโรคยศาล วัดค�าประมงและโรงพยาบาลเครือข่าย
                    - การท�าบันทึกความเข้าใจร่วมกัน (Memo Random of Understanding – MOU) ระหว่างสถาบันเครือข่าย
            กับอโรคยศาล วัดค�าประมง
                    - ระบบสื่อสารทางไกล (Teleconference) ระหว่าง อโรคยศาล วัดค�าประมง มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลอื่นๆ
                    - บริการให้ค�าปรึกษาเร่งด่วน (Hotline and Call Center)







































             รูปภาพที่ 14. องค์ความรู้จากการถอดบทเรียนโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานด้านมะเร็ง

                           สกลนคร อโรคยศาล วัดค�าประมง (ปิยะวรรณ โภคพลากรณ์และคณะ : 2561)
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73