Page 64 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 64

คู่มือปฏิบัติการ  63



                    การดูแลหลังการสูญเสีย
                    1. เจ้าหน้าที่ จิตอาสาดูแลท�าความสะอาดและจัดการศพ โดยที่วัดมีโลงศพ และสถานที่ พร้อมที่จะด�าเนินการ
            เผาศพให้ในรายที่ผู้ตายหรือญาติต้องการ
                    2. ประเมินภาวะเศร้าโศกจาการสูญเสีย  หากพบว่ามีภาวะเศร้าผิดปกติ  จะให้การปรึกษาโดยปรับ

            กระบวนการคิด พฤติกรรมบ�าบัดและธรรมบ�าบัด ซึ่งญาติผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถยอมรับความสูญเสียกับการจากไป
            ของผู้ป่วยได้อย่างสงบ มีความพึงพอใจและกลับมาเพื่อแสดงความขอบคุณทีมงานที่เคยดูแลและท�าบุญอุทิศกุศลให้
            ผู้ป่วย และกลับมาเป็นจิตอาสาเพื่อส่งต่อความดีต่อไป


            2.2 การบริหารจัดการ (Management Model of Palliative Care for Cancer Patient)
                    การบริหารจัดการองค์กรของโมเดลวัดค�าประมงมีรูปแบบคล้ายครอบครัว ไร้กรอบ อิสระ ยืดหยุ่น เปรียบเสมือน
            พ่อดูแลลูกๆ ภายในบ้าน ท�าให้การท�างานมีบรรยากาศที่อบอุ่น โดยมีโครงสร้างและรูปแบบการบริหารจัดการ ดังนี้























                             รูปภาพที่ 13. แสดงโครงสร้างการบริหารจัดการของอโรคยศาลวัดค�าประมง
                                              (ข้อมูลจากอโรคยศาลวัดค�าประมง)



            (1) ก�าลังคนและบุคลากร (Health Workforce)
                    บุคคลที่เป็นหลักของโมเดลวัดค�าประมง คือ หลวงตา (พระอาจารย์ปพนพัชร์ จิรธัมโม เจ้าอาวาสวัดค�าประมง)
            มีนายแพทย์โสภณ วัณไวทยจิตร ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลพระอาจารย์แบน ธนากโร (นายแพทย์จิตอาสา) รักษาการ
            ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานด้านมะเร็ง สกลนคร อโรคยศาลวัดค�าประมง
            และนางสาววิไลลักษณ์ ตันติตระกูล (พยาบาลวิชาชีพจิตอาสา) เป็นผู้ประสานงานและเป็นหลักในการดูแลบ�าบัด
            ผู้ป่วย มีการจัดโครงการจิตอาสาเพียงปีละวันเพื่อรับสมัครจิตอาสาเข้ามาบ�าเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งผู้ป่วยที่แข็งแรง
            ดีแล้วเป็นผู้น�าในการท�ากิจกรรมต่างๆ

                    หลวงตาเป็นต้นแบบผู้น�าที่ส�าคัญและเป็นตัวอย่างผู้ให้ที่ยิ่งใหญ่ในการทุ่มเทเสียสละ และการให้อย่าง
            ปราศจากเงื่อนไขในการบริหารงานให้เกิดผลทางการบ�าบัดโรค ความพึงพอใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีของทั้งผู้ป่วย
            และญาติ โดยใช้ธรรมะน�าทาง และเปิดกว้างให้ทุกศาสนา อาชีพ แบบไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยมีหลักการส�าคัญ คือ
            เน้นการสร้างคน (Empowerment) ให้เป็นคนเต็มศักยภาพ ที่แม้แต่ผู้รับยังสามารถกลับมาเป็นผู้ให้ได้ คนท�างาน
            ท�างานอย่างมีความสุข มีพลัง และเห็นคุณค่าของงานที่ท�า เกิดความศรัทธา การยอมรับและความมั่นใจที่เพิ่มขึ้น มี
            ผู้คนและหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศสนใจมาศึกษาดูงานมากขึ้น มีทีมงาน ผู้ร่วมดูแลและจิตอาสาจาก
            หลากหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งผู้ที่มีพรสวรรค์ยากจะเลียนแบบหรือจิตอาสาที่พัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญระหว่าง

            การอาสา เข้ามาร่วมให้การบ�าบัดรักษาผู้ป่วยตามบทบาทหน้าที่และความเชี่ยวชาญของแต่ละคนด้วยการผ่อนหนัก
            ผ่อนเบา ยืดหยุ่น มีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน ร่วมมือกันเพื่อพัฒนางานทั้งด้านวิชาการและด้านบริการให้เป็น
            ที่ยอมรับในคุณภาพและมาตรฐาน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69