Page 62 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 62

คู่มือปฏิบัติการ  61



                    ตารางที่ 2. ตารางกิจกรรมประจ�าวันของผู้ป่วยและผู้ดูแลที่อโรคยศาลวัดค�าประมง


                        เวลา                                    กิจกรรม                           หมายเหตุ

                  05.00 – 06.00 น.      ตื่นนอนสูดอากาศบริสุทธิ์ยามเช้า

                  07.00 – 08.00 น.      ใส่บาตรพระยามเช้า และรับประทานอาหารเช้า

                  08.30 – 09.00 น.      ออกก�าลังกายยามเช้า เช่น โยคะ ชี่กง ฤาษีดัดตน หัวเราะบ�าบัด
                                        เป็นต้น

                  09.00 – 09.30 น.      สวดมนต์ท�าสมาธิ

                  09.30 – 10.00 น.      รับยาประจ�าวัน

                  10.00 – 12.00 น.      พักผ่อนตามอัธยาศัย

                  12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารกลางวัน

                  13.00 – 16.00 น.      พักผ่อนตามอัธยาศัย

                  16.00 – 17.00 น.      รับประทานอาหารเย็น

                  18.00 – 19.30 น.      สวดมนต์ท�าวัตรเย็น และปฏิบัติภาวนา

                  19.30 – 20.30 น.      กิจกรรมบ�าบัด เช่น ดนตรีบ�าบัด ศิลปะบ�าบัด หัวเราะบ�าบัด ธรรมะ
                                        9 นาทีก่อนตาย (เจริญมรณานุสสติ) เป็นต้น

                  20.30 – 21.00 น.      รับยาประจ�าวัน

                  21.00 – 05.00 น.      นอนหลับพักผ่อนตามอัธยาศัย


                    3. การจัดการอาการความไม่สุขสบายที่ส่งผลต่อร่างกายและจิตใจผู้ป่วย เช่น อาการปวด นอนไม่หลับ
            ท้องอืด ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น โดยใช้ยาสมุนไพรและวิธีการบ�าบัดแบบการแพทย์ผสมผสานโดยไม่ใช้
            ยาแผนปัจจุบัน เช่น ขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร ต�ารับยาน�้าสาบาน ต�ารับยาน�้าสมานฉันท์ การสวดมนต์ สมาธิบ�าบัด
            การนวดกดจุดฝ่าเท้า และดนตรีบ�าบัด เป็นต้น
                    4. การเตรียมรับสถานการณ์ในกรณีฉุกเฉินเร่งด่วน

                       1) ผู้ป่วยและญาติสามารถโทรศัพท์มาติดต่อเพื่อขอรับบริการกรณีผู้ป่วยมีอาการฉุกเฉินเร่งด่วน
                         2) บริการให้ค�าปรึกษาเร่งด่วน (Hotline and Call center) 24 ชั่วโมง เมื่อญาติเกิดปัญหาในการดูแล
            ผู้ป่วย
                       3) ในกรณีฉุกเฉินที่เกินศักยภาพมีบริการรถน�าส่งต่อ รพ. สกลนคร หรือรพ.ใกล้เคียง
                    5. การประเมินผลการบ�าบัดรักษา มีดังนี้
                       1) การประเมินเชิงคุณภาพ จากการสังเกต ค�าบอกเล่า กริยาท่าทางและการแสดงออก เช่น ประเมิน
            ศรัทธาและความเชื่อ ความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันในตัวผู้ป่วย ญาติ และทีมงานผู้ร่วมดูแล ประเมินก�าลังกาย

            ก�าลังใจและจิตวิญญาณ ประเมินคุณธรรมที่พัฒนาขึ้น ประเมินความต่อเนื่องของการรักษา
                       2) การประเมินเชิงปริมาณ จากสถิติ และเครื่องมือต่างๆ ได้แก่
                         - ประเมินติดตามสถิติอัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยมะเร็ง
                         - ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติ
                         - ประเมินคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ป่วยและญาติ
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67