Page 61 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 61

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  291




            ล�าดับ ในวันที่ 29 การทดลอง SIMPLE Moderate   “SIMPLE’’ trials สนับสนุนการตัดสินของหน่วยงาน
            COVID-19 เป็นการทดลองระยะที่ 3 (phase 3 trial)   ว่าหลักฐานของประสิทธิผลและความปลอดภัยเป็นไป

            ซึ่งเป็นการทดลอง แบบสุ่มไม่ปกปิด (randomized   ตามมาตรฐานที่ก�าหนดไว้ส�าหรับการอนุมัติยาใหม่
            - unblinded) ในหลายประเทศในอเมริกา ยุโรปและ  ปัจจุบันมีการใช้ยาเรมดีซิเวียร์กันอย่างแพร่หลายใน
            เอเชีย การศึกษานี้ได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัท Gilead    หลายประเทศ โดยมีแนวปฏิบัติของสถาบันต่าง ๆ ที่

            Science ท�าการศึกษาในผู้ป่วย 584 รายที่มีอาการโรค  แนะน�าให้ใช้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 ในระดับ
            ปานกลาง คือมีปอดบวมและมีออกซิเจนในเลือด     รุนแรงหรือวิกฤติ [25-26]  อย่างไรก็ดีองค์การอนามัยโลก
            มากกว่า 94% โดยทดสอบการรักษาด้วยยาเรมดีซิเวียร์   ยังไม่แนะน�าให้ใช้ยาเรมดีซิเวียร์ในการรักษาผู้ป่วยที่

            เป็นระยะเวลา 5 วัน และ 10 วัน เทียบกับกลุ่มควบคุม  ติดเชื้อโควิด-19 ในโรงพยาบาลโดยไม่ค�านึงถึงความ
            ที่เป็นการรักษาตามมาตรฐาน (standard care) ตัว  รุนแรงของโรค จนกว่าจะมีหลักฐานสนับสนุนมากกว่า
                                                         [27]
            วัดผลที่ส�าคัญคือสถานะอาการทางคลินิกในวันที่ 11   นี้  ทั้งนี้เป็นการตัดสินใจที่อ้างอิงผลจากการศึกษา
            หลังการรักษา ผลการศึกษาพบว่าในวันที่ 11 ผู้ป่วย  แบบ RCT สี่ โครงการ [20-21, 23-24]  รวมทั้งผลจากการ
            ในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยยาเรมดีซิเวียร์ 5 วัน มี  ทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานเกี่ยว

                                                                               [28]
            สถานะอาการทางคลินิกที่ดีขึ้นมากกว่าผู้ที่ได้รับการ  กับยาที่ใช้ในการรักษาโควิด-19  โดยสรุปว่าหลักฐาน
            รักษาตามมาตรฐานอย่างมีนัยส�าคัญ (odds ratio   สนับสนุนผลของเรมดีซิเวียร์ต่อการลดอัตราการตาย
            1.65, 95% CI 1.09-2.48, p = 0.02) แต่ไม่พบความ  ความต้องการเครื่องช่วยหายใจ ระยะเวลาในการฟื้น

            แตกต่างระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาเรมดีซิเวียร์เป็นระยะ  ตัวทางคลินิก ระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาล
            เวลา 10 วัน และกลุ่มควบคุม การทดลอง SIMPLE   และการก�าจัดไวรัสยังไม่เพียงพอและก�าลังรอหลัก

            Severe COVID-19 เป็นการทดลองในระยะที่ 3 แบบ  ฐานเพิ่มเติมจากการศึกษาวิจัยทางคลินิกโดยเฉพาะ
            สุ่มไม่ปกปิด ท�าการศึกษาในผู้ป่วยที่รักษาตัวอยู่ในโรง  อย่างยิ่งหลักฐานการใช้ในผู้ป่วย เด็ก ผู้สูงอายุ และ
            พยาบาลจ�านวน 397 ราย ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และ   สตรีมีครรภ์ ถึงแม้ว่าจะไม่พบหลักฐานว่ามีความเสี่ยง

            เอเชีย การศึกษานี้ได้รับทุนสนับสนุนจากบริษัท Gil-  เพิ่มขึ้นจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงจากการ
            ead Science เป็นการเปรียบเทียบยาเรมดีซิเวียร์ให้  วิจัยแต่จ�าเป็นต้องมีการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์
            เป็นระยะเวลา 5 วัน และ 10 วัน ในผู้ป่วยระยะรุนแรง   เพิ่มเติม องค์การอนามัยโลกให้ความเห็นว่าต้องมี

            ที่มีปอดบวมโดยมีออกซิเจนในเลือด 94% หรือน้อย  หลักฐานที่สนับสนุนผลการรักษาที่มีความส�าคัญต่อ
            กว่า โดยมีตัววัดผลที่ส�าคัญคือสถานะอาการทาง  ผู้ป่วยอย่างชัดเจนโดยเฉพาะเมื่อยามีราคาค่อนข้างสูง
            คลินิก 14 วัน ภายหลังการรักษา พบว่าระยะเวลาการ  และอีกประการหนึ่งยาอยู่ในรูปแบบที่ให้โดยการฉีด

            รักษา 5 หรือ 10 วันมีผลประโยชน์ทางคลินิกที่  ทางหลอดเลือดเท่านั้น ซึ่งอาจเป็นข้อจ�ากัดในการใช้
            คล้ายคลึงกัน (เวลาที่มีอาการดีขึ้นทางคลินิกและระยะ  ทั่วไป นอกจากนี้ยาเรมดีซิเวียร์ยังมีข้อห้ามใช้ใน

            เวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาล) การทบทวนหลัก  ผู้ป่วยที่มีการท�างานของตับและไตผิดปรกติอีกด้วย
            ฐานทางวิทยาศาสตร์ของ US FDA จากการทดลอง          ถึงแม้ว่ายาเรมดีซิเวียร์จะได้รับการขึ้นทะเบียน
            ทางคลินิก ACTT-1 trial ร่วมกับการทบทวนผลจาก   ในสหรัฐอเมริกาแล้ว บริษัท Gilead Science ยังคง
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66