Page 57 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 57
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 287
[2]
อาการตามระดับความรุนแรงของโรคออกเป็น 3 zumab และ sarilumab จะเห็นได้ว่าการเลือกใช้ยา
[2-3]
ระยะ (ดังภาพที่ 1) ความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 รักษาโรคโควิด-19 อาจต้องพิจารณาตามระยะของ
มีความสัมพันธ์กับระดับที่สูงขึ้นของไซโตไคน์ (cyto- อาการของโรค (ภาพที่ 1) โดยในช่วงแรกของอาการ
kine) โดยเฉพาะระดับ interleukin-6 (IL-6) มีความ เป็นช่วงที่ไวรัสมีการเพิ่มปริมาณ และร่างกายพยายาม
[4-5]
สัมพันธ์กับความตายมากกว่าไซโตไคน์ชนิดอื่น ๆ สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อตอบสนองต่อไวรัส การให้ยา
ขณะนี้ยังไม่มียารักษาที่ได้รับการขึ้นทะเบียนและเป็น กดภูมิคุ้มกันจึงไม่เหมาะสม ดังนั้นการใช้เด็กซาเมทา-
[2]
ที่ยอมรับส�าหรับกลุ่มอาการที่ไม่รุนแรง การดูแลรักษา โซนในช่วงแรกจึงไม่แนะน�า ในช่วงแรกของการติด
อาการเบื้องต้นมักจะเป็นการรักษาตามอาการ เช่น การ เชื้อ ยาต้านไวรัสจะมีความส�าคัญต่อการรักษามาก
ลดไข้ การพักผ่อน และการดื่มน�้า ปัจจุบันเรมดีซิเวียร์ ที่สุด หลังจากนั้นภาระการก�าจัดเชื้อไวรัสจะลดลง
(remdesivir) เป็นยาต้านไวรัสโควิด-19 ชนิดเดียว เพราะจะเริ่มมีกระบวนการอักเสบมากขึ้น ความส�าคัญ
[6]
ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในสหรัฐอเมริกาโดยองค์การ ของการรักษาจึงมุ่งไปที่การลด หรือการจัดการกับการ
อาหารและยา และใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงที่ อักเสบมากกว่า [8]
ต้องการใช้ออกซิเจนเสริม อย่างไรก็ตาม องค์การ การพัฒนายาจากยาที่ใช้อยู่แล้ว (repurposed
[7]
อนามัยโลกยังไม่แนะน�าให้ใช้ยาตัวนี้ เนื่องจากยังไม่มี drug) จึงควรพิจารณาเลือกจากคุณสมบัติของยา และ
หลักฐานเพียงพอในการสนับสนุนการลดอัตราการ ความเป็นไปได้ของการใช้ยาในระยะต่าง ๆ ด้วย ซึ่งจะ
ตาย หรือการลดการใส่ท่อหายใจ หรือลดอาการที่ มีผลต่อการเลือกตัววัดผลที่ส�าคัญ (primary end-
รุนแรงขึ้น เป็นต้น ส�าหรับระยะที่มีอาการรุนแรงหรือ point) ได้อย่างถูกต้อง การใช้ยาต้านไวรัสในช่วงแรก
วิกฤติ องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะน�าให้ใช้ยาลด ควรจะต้องมีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าเชื้อไวรัสหาย
อักเสบเด็กซาเมทาโซน และ ยาต้าน IL-6 คือ tocili- ไปเร็วกว่าที่ร่างกายจะสามารถก�าจัดเชื้อไปตาม
ภาพที่ 1 การแบ่งกลุ่มอาการของโควิด-19 ออกเป็น 3 ระยะ – early infection, severe, critical
[3]
[2]
(Source: WHO clinical treatment guidelines 2021 , และ Wagner Gouvea dos Santos , with modification)