Page 58 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 58
288 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ธรรมชาติ ซึ่ง 80% ของผู้ป่วยจะหายได้เอง ความ ได้มีการน�ายาที่ได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหาร
สามารถในการก�าจัดไวรัสได้เร็ว หรืออาการหายไปได้ และยาของสหรัฐอเมริกา (US FDA) และยาสมุนไพร
เร็วกว่าที่ร่างกายจัดการได้เอง และ อาการของโรคที่ จ�านวนมากมาทดสอบในหลอดทดลอง พบว่ามียาและ
ไม่รุนแรงขึ้น จึงเป็นตัววัดที่ส�าคัญ ทั้งนี้หากไม่มีกลุ่ม สมุนไพรหลายชนิดมีฤทธิ์ต้าน SARS-CoV-2 [9-11] และ
ควบคุมคือผู้ป่วยที่ได้รับยาหลอก ก็คงจะตอบค�าถาม มียาหลายชนิดได้รับการคัดเลือกให้พัฒนาต่อเพื่อ
นี้ได้ยาก รูปแบบของการวิจัยหากเป็น double – เป็นยาส�าหรับรักษาโควิด-19 [12-13] เช่น ยามาลาเรีย
blinded, randomized - placebo control ก็จะลด (คลอโรควิน และไฮดร็อกซีคลอโรควิน) ยาถ่ายพยาธิ
ความเสี่ยงของอคติได้ ส่วนการรักษาผู้ป่วยในระยะที่ (ไอเวอร์เม็กติน-ivermectin) และยาแก้ไข้หวัดใหญ่
2 ซึ่งโรคได้ลุกลามไปที่ปอด ตัววัดผลที่ส�าคัญน่าจะ (ฟาวิพิราเวียร์ – favipiravir) และสมุนไพรฟ้าทะลาย
เป็นการยับยั้ง หรือลดการลุกลามของการอักเสบของ โจร เป็นต้น ส�าหรับยาคลอโรควินและไฮดร็อกซีคลอ-
ปอด ระยะเวลาคืนตัวของอาการอักเสบของปอด รวม โรควินนั้น มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะใน
ทั้งการลดความต้องการใส่ท่อหายใจ บทบาทของยา ช่วงที่นายโดนัลด์ ทรัมป์ ด�ารงต�าแหน่งประธานาธิบดี
ต้านไวรัสยังส�าคัญโดยเฉพาะในช่วงต้นของระยะที่ 2 ซึ่งได้เสนอแนะให้ US FDA อนุมัติการใช้ยาคลอโร-
นี้ และบทบาทของยาต้านอักเสบจะเริ่มมีมากขึ้นใน ควินและไฮดร็อกซีคลอโรควินส�าหรับการรักษาโควิด-
[3]
ช่วงหลังของระยะที่ 2 ส่วนระยะที่ 3 เป็นระยะวิกฤติ 19 โดยในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 US FDA ได้อนุมัติ
ผู้ป่วยมีการอักเสบที่รุนแรง มี cytokine storm พบ ให้มีการใช้ยาทั้งสองชนิดนี้ได้ในกรณีฉุกเฉิน (emer-
ว่ามีระดับของไซโตไคน์เพิ่มขึ้น ตัววัดผลส�าคัญน่าจะ gency use authorization - EUA) เพื่อรักษาผู้ป่วย
เป็นการลดอัตราการตาย การลดความต้องการและ โรคโควิด-19 ท�าให้แพทย์สามารถสั่งจ่ายยาทั้งสอง
เวลาในการใช้เครื่องช่วยหายใจ การรักษาจึงมุ่งไปที่ ชนิดในการรักษาผู้ป่วยที่ก�าลังรักษาตัวในโรงพยาบาล
การจัดการกับกระบวนการอักเสบ และการจัดการกับ ได้ภายใต้ EUA นี้ แต่ต่อมาในวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.
สภาวะ cytokine storm การยับยั้งไซโตไคน์ที่ 2563 US FDA ได้ถอนยาทั้งสองออกจากการใช้ใน
[3-4]
เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ IL-6 ยาที่ไปช่วยลดการอักเสบ กรณีฉุกเฉิน เนื่องจากพบหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่า
และ immune modulator จึงมีบทบาทมากที่สุดใน ยาคลอโรควินและไฮดร็อกซีคลอโรควินไม่มีประสิทธิผล
ระยะวิกฤตินี้ เพียงพอในการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 และผู้ป่วย
[8]
จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันยาที่ใช้ส�าหรับโควิด-19 อาจจะยังต้องเสี่ยงกับอาการข้างเคียงที่มีอันตรายต่อ
[14]
มีค่อนข้างจ�ากัด เนื่องจากเป็นโรคที่เกิดขึ้นมาใหม่ ใน ชีวิตได้ ในประเทศไทยได้มีการน�ายาคลอโรควิน
สถานการณ์ที่มีการระบาดของโควิด-19 ไปทั่วโลก จึง และไฮดร็อกซีคลอโรควิน มาใช้ในโรคโควิด-19 ใน
จ�าเป็นต้องมีการค้นหายาใหม่เพื่อใช้ในการต่อสู้กับ ช่วงแรก ๆ ของการระบาดเช่นเดียวกัน แต่ต่อมาได้
การระบาดของโรคใหม่ ซึ่งหากต้องเริ่มพัฒนายาใหม่ เลิกใช้ไปหลังจากที่องค์การอนามัยโลกได้คัดค้านการ
[2]
จะต้องใช้เวลานานหลายปี การน�ายาที่ได้รับการอนุมัติ ใช้ยาทั้งสอง ส่วนยาไอเวอร์เม็กติน นั้น ส�านักงาน
ส�าหรับโรคอื่นมาพัฒนาต่อจึงกลายเป็นกลยุทธ์ในการ คณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทยยังไม่
[15]
ตอบสนองต่อโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ได้อย่างทันท่วงที แนะน�าให้ใช้ส�าหรับโรคโควิด-19 อย่างไรก็ตาม