Page 64 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 64
294 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ศึกษา 60 ราย (20 ราย ในแต่ละกลุ่ม) พบว่า 62.5% ศึกษาที่เป็นรูปแบบ before-after, non-randomized
[44]
ในกลุ่มที่ได้ยาฟาวิพิราเวียร์ ไม่พบเชื้อภายใน 4 วัน - controlled trial ที่เหลืออีก 6 โครงการ เป็น ob-
เมื่อเทียบกับ 30% ในกลุ่มควบคุม (p = 0.018) อาการ servational study หรือ case series [45-50] ผลของ
ไข้กลุ่มที่ได้รับยาฟาวิพิราเวียร์หายเร็วกว่ากลุ่ม การวิเคราะห์อภิมานพบว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา
ควบคุม โดยมีค่ามัธยฐาน 2 วัน เทียบกับ 4 วัน (p = ฟาวิพิราเวียร์ สามารถก�าจัดไวรัสได้เร็วกว่ากลุ่ม
0.007) ผลจากการศึกษาน�าร่องนี้ ท�าให้กระทรวง ควบคุมในวันที่ 7 หลังการรักษา (odd ratio OR 2.49,
สาธารณสุขของรัสเซียอนุมัติให้ใช้ยา avifavir เป็นยา 95% CI 1.19-5.22) แต่ไม่แตกต่างกันในวันที่ 14 ส่วน
ที่ใช้รักษาโควิด-19 ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉิน (EUA) อาการทางคลินิกดีขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมทั้งวันที่ 7 และ
และก�าหนดให้มีการด�าเนินการวิจัยต่อในระยะ 3 วันที่ 14 (OR 1.60, 95% CI 1.03–2.49 และ OR 3.03,
(phase 3 clinical trial) โดยมีการปรับขนาดยา load- 95% CI 1.17–7.80 ตามล�าดับ) การทบทวนนี้แสดงว่า
ing dose เป็น > 44 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัมน�้าหนักตัว ยาฟาวิพิราเวียร์สามารถก�าจัดไวรัสได้ภายใน 7 วัน
เป็นระยะเวลานาน 10 วัน ขณะนี้ยังไม่พบรายงานผล และท�าให้มีอาการทางคลินิกดีขึ้นภายใน 14 วัน ซึ่ง
ของการศึกษา แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของยาฟาวิพิราเวียร์ในการ
มีการศึกษาอีกหลายการศึกษา [35-41] ที่เป็น RCT รักษาโรคโควิด-19 ในผู้ป่วยอาการเล็กน้อยถึงปาน
ซึ่งได้ประเมินประสิทธิผลของยาฟาวิพิราเวียร์เปรียบ กลาง อย่างไรก็ตามผู้ทบทวนประเมินหลักฐานมีความ
เทียบกับยาที่ใช้รักษาตามมาตรฐานของแต่ละสถาบัน เสี่ยงสูงต่ออคติและคุณภาพของข้อมูลถูกประเมินว่า
ที่ท�าการศึกษา เช่น คลอโรควิน, arbidol, lopinavir/ มีความเชื่อมั่นต�่า (low certainty)
ritonavir, baloxavir marboxil, darunavir/cobi- การทบทวนอีกฉบับ เป็นการทบทวนจาก
[43]
cistat และ tocilizumab การศึกษาเหล่านี้ใช้ขนาด รายงานการวิจัยทางคลินิกที่มีการเปรียบเทียบกับกลุ่ม
ยาและระยะเวลาที่แตกต่างกัน ในแต่ละการศึกษามี ควบคุมด้วยยาต้านไวรัสชนิดอื่นจ�านวน 9 โครงการ
ขนาดของตัวอย่างที่ค่อนข้างจ�ากัด การติดตามผลก็มี รวมผู้ป่วย 827 ราย โดยเป็นการศึกษาแบบสุ่มไม่
ความแตกต่างกัน จาก 14 ถึง 30 วัน อาการของโรค ปกปิด (open randomized clinical trial) ยกเว้น
จากอาการน้อยถึงอาการรุนแรง การศึกษาเหล่านี้ให้ ฉบับเดียวที่ไม่มีการสุ่ม การวิจัยท�าในประเทศจีน
[44]
ผลที่แตกต่างกันและขัดแย้งกันในบางประเด็นท�าให้ รัสเซีย โอมาน อียิปต์ ญี่ปุ่น และ อินเดีย พบว่าผู้ป่วย
ตัดสินใจยากว่าควรที่จะใช้ยาฟาวิพิราเวียร์ในการ มีอาการทางคลินิกที่ดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญเมื่อเทียบ
รักษาโควิด-19 หรือไม่ กับกลุ่มควบคุมส�าหรับในช่วงเวลาการติดตาม 7 วัน
ได้มีรายงานการทบทวนอย่างเป็นระบบและการ (RR 1.24, 95% CI 1.09-1.41, p = 0.001) ถึงแม้ว่า
วิเคราะห์อภิมานของยาฟาวิพิราเวียร์ 2 ฉบับ [42-43] ฟาวิพิราเวียร์จะมีแนวโน้มในการก�าจัดไวรัสได้
รายงานแรกที่จะกล่าวถึงเป็นการทบทวนรายงาน 11 มากกว่ากลุ่มควบคุมในวันที่14 แต่ไม่มีนัยส�าคัญทาง
ฉบับ ในจ�านวนผู้ป่วย 1,019 ราย ที่มีอาการน้อยถึง สถิติ (RR 1.11, 95% CI 0.98-1.25, p = 0.094) การ
[42]
ปานกลาง โดยการศึกษาที่ใช้ในการทบทวนและ วิเคราะห์อภิมานนี้ไม่พบความต่างในความต้องการ
วิเคราะห์นี้ เป็น RCT 4 โครงการ [34-35,37,39] และ มีการ ออกซิเจน หรือการย้ายเข้า ICU หรือ การเกิดอาการ