Page 40 - journal-14-proceeding
P. 40
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
OP60R2R0032 การเปรียบเทียบผลการลดอาการคันในโรคลมพิษเฉียบพลันระหวาง
ใบพลูคั้นสดกับ Calamine lotion ในตําบลสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลําภู
อนุธิดา สิงหนาค
โรงพยาบาลสุวรรณคูหา จ.หนองบัวลําภู
หลักการและเหตุผล การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีที่มาและความสําคัญจากสภาพปญหาในพื้นที่ ขอมูลสามป
ยอนหลังโรงพยาบาลสุวรรณคูหามีการใชคาลาไมลในผูปวยที่มีผดผื่นคันเพิ่มขึ้นเปนมูลคา 29,750บาท 15,087.5 บาท และ
346,902 บาทตามลําดับซึ่งเปนมูลคาในภาพของอําเภอประกอบดวย 1 โรงพยาบาล 13 รพ.สต. และ 1 PCU และอาการคันยังเปน
ปญหาทั้งดานรางกายและจิตใจของผูปวย โดยผูปวยที่มาดวยผดผื่นคันนี้ลาสุดในป 2559 มีจํานวนมากถึง 760 ราย จําแนก
ออกเปนลมพิษ 103 ราย สัมผัสยาฆาหญา 310 ราย ผื่นคันในเด็ก 205 และอื่น ๆ 142 ราย ผูวิจัยจึงเลือกที่จะศึกษาอาการผื่น
คันในโรคลมพิษแบบเฉียบพลัน มีอาการคันเกิดขึ้นเปนเวลาไมเกิน 6 สัปดาห (สถาบันนานาชาติที่ศึกษาเกี่ยวกับอาการคัน
International Forum for the Study of Itch, IFSI) และเลือกที่จะใชน้ําคั้นใบพลูสด (จากงานวิจัยการใชสมุนไพรบําบัดภาวะ
ฉุกเฉินทางสุขภาพของประชาชนในภาคกลางโดยสมุนไพรที่ใชมากที่สุดในการบําบัดลมพิษ คือใบพลู รอยละ 59.32)
วัตถุประสงค เพื่อ เปรียบเทียบการลดอาการคันในโรคลมพิษเฉียบพลันระหวางใบพลูกับ Calamine lotion ศึกษาวาสามารถ
ลดอาการคันไดจริงหรือไม และยาใดมีประสิทธิภาพกวา
วิธีการดําเนินการ ใชกลุมตัวอยาง คือผูปวยที่มีอาการคันจากโรคลมพิษเฉียบพลันจํานวน30รายในเขตตําบลสุวรรณคูหาแบง
ออกเปน ไดรับการใชน้ําใบพลูคั้นสด 15 ราย และไดรับ Calamine lotion 15 ราย (ในการศึกษาครั้งนี้ใชวิธีสุมตัวอยางแบบ
เฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ในการเลือกผูปวยจํานวน 30 คนไดใชทฤษฎีแนวโนมเขาสูศูนยกลาง (Central Limit
Theorem ) อธิบายไววา " สําหรับประชากรใดๆแลว ถาเก็บตัวอยางในจํานวนที่มากพอ การกระจายของคาตัวอยางดังกลาวจะ
มีแนวโนมใกลเคียงกับการกระจายแบบธรรมชาติ(Normal distribution) เสมอมากพอที่จะชวยใหการแจกแจงเปนโคงปกติได
(ฉัตรศิริอางใน Bartz, Albert 1999) ) เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือใบพลู Calamine lotion และแบบบันทึกขอมูล ซึ่ง
ประกอบดวย 2 สวน ไดแกขอมูลสวนบุคคล และแบบประเมินคุณลักษณะและความรุนแรงของอาการคันรวมถึงเวลาที่หายคัน
(พัฒนาขึ้นจากแนวคิดของดอดดและคณะ (Dodd et al.,2001) และแปลผลตามเกณฑของริชและคณะ(Reich et al.,2011)) ซึ่ง
ผานการตรวจสอบความตรงโดยผูเชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมขอมูลระหวางวันที่ 10 มกราคม 2560 ถึง 25 มีนาคม 2560 วิเคราะห
ขอมูลดวยสถิติพรรณนา ไดแก จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห ไดแก Independent
t test, และ ON-Way ANOVA
ผลการศึกษา พบวาระยะเวลาที่หายคันในกลุมที่ใชน้ําใบพลูคั้นสดและ Calamine lotion มีคาเฉลี่ย 3.06 และ 9.68 ชั่วโมง
ตามลําดับ ซึ่งไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนระดับความรุนแรงของอาการคันในกลุมที่ใชน้ําใบพลูคั้นสดและ
Calamine lotion จากระดับอาการคันรุนแรงมาก (≥7-<9) ลดลงมาเปน อาการคันรุนแรงเล็กนอย (>0-<4) รอยละ86.66และ
อาการคันรุนแรงปานกลาง (≥4-<7) รอยละ 73.33 ตามลําดับ และระยะเวลาหลังการรักษาที่มีอาการคันกําเริบขึ้นมาอีก มี
คาเฉลี่ย 9.07 และ 2.98 ชั่วโมง
ขอสรุป ทําใหสามารถอภิปรายผลไดวา แสดงใหเห็นวาน้ําคั้นใบพลูสดและ Calamine lotion สามารถลดอาการคันในโรค
ลมพิษไดจริง และน้ําคั้นใบพลูสดยังสามารถรักษาอาการคันในโรคลมพิษไดดีกวา Calamine lotion และในงานวิชาการชิ้นนี้ยัง
ชวยใหผูปวยที่มีอาการคันในโรคลมพิษเฉียบพลันนั้น สามารถพึ่งตนเอง พึ่งชุมชนไดอยางยั่งยืน
38