Page 39 - journal-14-proceeding
P. 39

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    OP60R2R0026 การประเมินประโยชนและความปลอดภัยของตํารับยาสหัสธารา
                                    ตามขอบงใชในบัญชียาหลักแหงชาติในผูปวยที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาล

                                    พระอาจารยฝน อาจาโร

                                1
                                                                              2
                                                2
                                                               3
               ศศิพงค ทิพยรัชดาพร , พรชัย สิทธิศรัณยกุล , มณฑกา  ธีรชัยสกุล , ภาณุพงศ ภูตระกูล
               1  โรงพยาบาลพระอาจารยฝน อาจาโร   ภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                       2
               3
                 สถาบันวิจัยการแพทยแผนไทย กรมการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
               หลักการและเหตุผล  จากการเก็บขอมูลยอนหลังในป 2557 พบวาบุคลากรทางการแพทยในจังหวัดสกลนคร
               มีอัตราการสั่งใชตํารับยาสหัสธาราเพื่อบรรเทาอาการปวดกลามเนื้อเพิ่มสูงขึ้น แตก็ยังสั่งใชไมเปนที่กวางขวาง
               เนื่องจากยังขาดขอมูลการประเมินประโยชนและความปลอดภัยของตํารับยาสหัสธารา

               วัตถุประสงค   เพื่อประเมินประโยชนและอาการไมพึงประสงคจากการใชตํารับยาสหัสธาราตามขอบงใชใน
               บัญชียาหลักแหงชาติในผูปวยที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลพระอาจารยฝน อาจาโร


               วิธีดําเนินการ  การศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงสังเกต (Observational  study) โดยติดตามผลการรักษาและ
               อาการไมพึงประสงคจากการใชยา 14 วัน ระหวาง 1 สิงหาคม 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ 2560 ดวยการ
               ติดตามทางโทรศัพท และติดตามผลการรักษาที่โรงพยาบาล จํานวน 2 ครั้ง  ใชแบบบันทึกขอมูลการใชยา

               สมุนไพรของผูปวย แบบประเมินความรูสึกระดับอาการปวด ไดแก (Visual Analogue  Scale :  VAS)  แบบ
               ประเมินอาการไมพึงประสงค Thai Algorithm และ Naranjo’s Algorithm แบบประเมินความรวมมือในการ
               ใชยา และแบบวัดผลการรักษาและความพึงพอใจในการใชยาของผูปวย การวิเคราะหขอมูลอาศัยการวิเคราะห
               ทางสถิติ เชน ความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 95% Confidence Interval


               ผลการศึกษา   จากผูเขารวมการวิจัยทั้งสิ้น 283  ราย พบวาสวนใหญเปนเพศหญิง (รอยละ 67.84)  อายุ
               ระหวาง 30-39 ป (รอยละ 40.98) ไดรับตํารับยาสหัสธาราเพียงอยางเดียว (รอยละ 74.91) ใชเพื่อบรรเทา
               อาการปวดเมื่อยกลามเนื้อ (รอยละ 89.75) รับประทานยาครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 3 ครั้ง กอนอาหาร (รอย

               ละ 65.01) ไดรับยานาน 14 วัน (รอยละ 85.51) และระดับคะแนนอาการปวดกอนการรักษาเฉลี่ย 6.70±1.84
               คะแนน  หลังจากผูปวยไดรับตํารับยาสหัสธาราพบวาสวนใหญรับประทานยาครบตามจํานวนวันที่สั่งจาย (รอย
               ละ 79.86) และรับประทานยาครบตามปริมาณที่กําหนด  (รอยละ 81.63)  สวนใหญผูปวยมีอาการปวดดีขึ้น

               (รอยละ 55.12) มีความพึงพอใจตอผลการรักษา (รอยละ 65.72) และมีระดับคะแนนอาการปวดหลังการ
               รักษาเฉลี่ยลดลงเปน 3.90±1.90 คะแนน  อยางไรก็ตามผูปวยสวนใหญเกิดอาการไมพึงประสงค (รอยละ
               83.39) ซึ่งเกิดกับระบบทางเดินอาหาร (รอยละ 85.10) มักเกิดอาการไมพึงประสงคหลังจากไดรับยา 16-30
               นาที (รอยละ 57.45) แตผูปวยสวนใหญยังคงใชยาสหัสธาราตอไป (รอยละ 80.85) และคิดวาหากมีอาการ
               ปวยแบบเดียวกันอีก จะใชยาสหัสธาราเพื่อการรักษาในครั้งตอไป (รอยละ 92.23)


               ขอสรุป  ตํารับยาสหัสธาราสามารถชวยลดอาการปวดเมื่อยกลามเนื้อไดเปนอยางดี และผูปวยสวนใหญพึง
               พอใจตอผลการรักษา อาการไมพึงประสงคหลักที่พบ คือ อาการแสบรอนยอดอกที่ไมรุนแรงภายใน 30  นาที
               หลังจากไดรับยา แตผูปวยสามารถทนอาการไมพึงประสงคดังกลาวได







                                                         37
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44