Page 44 - journal-14-proceeding
P. 44

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    OPem51R การศึกษาผลของการรับประทานยากลอมนางนอนที่มีตอการนอนหลับใน
                                    ผูปวยโรคมะเร็งตับ



               ประสบโชค เชาวลิต
               โรงพยาบาลการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน

               หลักการและเหตุผล โรคมะเร็งเปนสาเหตุการตายสูงเปนอันดับ 1 ของคนไทย ตอเนื่องนานกวา 13 ป นับตั้งแตป 2543

               เปนตนมา และจากขอมูลลาสุดจากกระทรวงสาธารณสุข พบวาคนไทยเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งกวา 60,000 คนตอป
               โรงพยาบาลการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน เปดใหบริการดูแลผูปวยโรคมะเร็ง โดยผูปวยโรคมะเร็งตับจะ
               ไดรับการวินิจฉัยทางการแพทยแผนไทย เปน ยกนังพิการ ซึ่งศาสตรการแพทยแผนไทยในคัมภีรโรคนิทานมีตํารับยาชื่อ

               ยากลอมนางนอน ที่ระบุสรรพคุณเปนยาลอมตับ ไมใหตับทรุด ตัวยาสําคัญเปนสมุนไพรจําพวก โกฐ เทียน และเกสร
               ดอกไม รสยาในตํารับเปนรสสุขุมหอม อาการนอนไมหลับในผูปวยโรคมะเร็งตับเกิดจากความผิดปกติของตับตามคัมภีร
               แพทยแผนไทยและภาวะปตตะกําเริบ ซึ่งยากลอมนางนอนสามารถชวยลดภาวะปตตะกําเริบ ทําใหผูปวยสามารถนอน
               หลับไดดีขึ้นได ซึ่งเปนกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่สงผลตอการฟนตัวของตับที่มีความผิดปกติได

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการรับประทานยากลอมนางนอนที่มีตอการนอนหลับในผูปวยโรคมะเร็งตับ

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Observational Descriptive Studies) ไมมีกลุมควบคุม หรือกลุม
               เปรียบเทียบ โดยการใชแบบสอบถามผูปวยมะเร็งตับที่ไดรับยาสมุนไพรตํารับกลอมนางนอน จํานวน 25 คน โดย

               รับประทานยากลอมนางนอนขนาด 2 แคปซูล 1 ครั้ง กอนนอน และเก็บขอมูลคุณภาพการนอนหลับโดยใชแบบประเมิน
               PSQI  หรือคุณภาพการนอนหลับของพิตสเบิรกฉบับภาษาไทย ในผูปวยมะเร็งตับ เปรียบเทียบ กอน และหลัง
               รับประทานยากลอมนางนอน เปนเวลา 7 วัน เปรียบเทียบระดับไขมันในเลือด คาเคมีคลินิก คาโลหิตวิทยา กอนและ
               หลังการศึกษา รวมถึงผลขางเคียงของการใชยาของผูปวย


               ผลการศึกษา จากการเก็บขอมูล ผูปวยมะเร็งตับ ที่รับประทานยากลอมนางนอน จํานวน 25 คน ซึ่งมีอายุตั้งแต 40 –
               75 ป  พบวาผูปวยมีคุณภาพการนอนไมดี โดยไดรับการประเมิน PSQI ไดคะแนน > 5 พบวาปญหาที่ทําใหนอนไมหลับ
               3 อันดับแรก คือ 1)รูสึกปวด 2)รูสึกรอนเกินไป 3)รูสึกนอนไมหลับหลังจากเขานอนไปแลวนานกวา 30 นาที เมื่อ
               รับประทานยากลอมนางนอน จํานวน 2 แคปซูล 1 ครั้งกอนนอน เปนระยะเวลา 7 วัน พบวากลุมเปาหมายทั้ง 25 คนมี

               การนอนหลับดีขึ้นจํานวน 18 คน  โดยวัดจากแบบประเมิน PSQI  มีระดับคะแนน < 5 (คุณภาพการนอนหลับดี) หลัง
               รับประทานยากลอมนางนอน คิดเปน รอยละ 72 ของผูรับประทานยากลอมนางนอนทั้งหมด และเมื่อเปรียบเทียบ
               คาเฉลี่ยคะแนน PQSI  กอนรวมรับประทานยากลอมนางนอน ไดคะแนน 8 ± 1.5 (คุณภาพการนอนหลับไมดี) หลัง

               รับประทานยากลอมนางนอน ไดคะแนน 3 ± 1 (คุณภาพการนอนหลับดีขึ้น) คาเฉลี่ยของระยะเวลาที่เขานอนจนถึงหลับ
               จริงของกลุมเปาหมาย กอนรับประทานยากลอมนางนอน เปน 50 ± 10 นาที หลังรับประทานยากลอมนางนอนเปน 25
               ± 5 นาที ระดับคาเคมีคลินิก (การทํางานของตับ การทํางานของไต) คาโลหิตวิทยา น้ําหนักตัว กอนและหลังการทดลอง
               ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ผลขางเคียงในกลุมศึกษาไมพบผลขางเคียงจากการใชยา


               ขอสรุป ผลการวิจัยชิ้นนี้ชี้ใหเห็นวา ยากลอมนางนอน สามารถชวยในการนอนหลับของผูปวยโรคมะเร็งตับได ซึ่งจาก
               สรรพคุณในคัมภีรโรคนิทานนั้น เปนผลลัพธจากการที่รางกายมีความรอนที่พอดี ไมมีภาวะปตตะที่กําเริบ ทําใหสามารถ
               พักผอนนอนหลับไดมากขึ้น จึงทําใหชวยลอมตับมิใหตับทรุด (คือตับอักเสบบวมโตออกนอกชายโครง)ได และควรวิจัย

               ตอยอดการใชยากลอมนางนอนในการรักษาภาวการณนอนไมหลับเพื่อทดแทนยาแผนปจจุบันตอไป


                                                         42
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49