Page 41 - journal-14-proceeding
P. 41
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
OP60R2R0050 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาจันทนลีลากับยาพาราเซตามอล
ในการลดอาการไขหวัด
จรัสศรี บุญคงทอง
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี เฝาไร อําเภอเฝาไร จังหวัดหนองคาย
หลักการและเหตุผล การเกิดไขหวัดเปนโรคที่พบไดโดยทั่วไป เมื่อมีอาการไข สิ่งหนึ่งที่หลายคนนิยมใช คือ ยา
พาราเซตามอล ซึ่งถาใชเกินขนาดก็อาจมีพิษตอตับ ถึงตายได ปจจุบันมีการสงเสริมการใชยาสมุนไพร โดยใช
ตํารับยาจันทนลีลาในการลดอาการไขหวัด รวมถึงอาการขางเคียงตางๆ จากขอมูลการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัช
วิทยาและพิษวิทยา พบวา มีฤทธิ์แกไข ตานการอักเสบ และแกปวด และไมพบพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง
(นพมาศ สุนทรเจริญนนท และนงลักษณ เรืองวิเศษ, 2551) ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจทําการศึกษาประสิทธิผลของ
ยาจันทนลีลาเปรียบเทียบกับยาพาราเซตามอลในการลดอาการไขหวัด เพื่อเปนการยืนยันขอมูลทางคลินิกใน
การสงเสริมและสนับสนุนการใชยา และลดอัตราการใชยาแผนปจจุบันตอไปในอนาคต
วัตถุประสงค เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาจันทนลีลากับยาพาราเซตามอลในการลดอาการไขหวัด
วิธีดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบ Randomized
control trial มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดอาการไขหวัดของยาจันทนลีลาและยา
พาราเซตามอล ประชากรที่ใช คือ ผูปวยนอกที่มีอาการไขหวัด ที่มารับบริการ ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระ
เกียรติฯ เฝาไร อ.เฝาไร จ.หนองคาย ผูศึกษาไดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชเกณฑในการคัดเขา (Inclusion
Criteria) เกณฑในการคัดออก (Exclusion Criteria) และเกณฑการใหเลิกจากการศึกษา (Discontinuation
Criteria) จํานวน 76 คน โดยแบงออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ไดรับยาจันทนลีลา (ร.พ.อูทอง จ. สุพรรณบุรี:
GMP) และกลุมไดรับยาพาราเซตามอล เก็บรวบรวมขอมูลหลังจากไดรับการอนุมัติจริยธรรมจาก
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคายเรียบรอยแลว ระหวางวันที่
18 เมษายน 2559 ถึงวันที่ 13 มิถุนายน 2559 โดยใชแบบบันทึกขอมูลอุณหภูมิรางกาย นําขอมูลมาวิเคราะห
โดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก การแจกแจงความถี่ (Frequency) คารอยละ
(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และสถิติอนุมาน ไดแก
paired t-test และ Unpaired t- test โดยกําหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการศึกษา พบวา เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนอุณหภูมิกอนและหลังการรักษาดวยยาจันทนลีลา
และยาพาราเซตามอลของผูปวยแตละรายในกลุมเดียวกัน พบวา ยาจันทนลีลาสามารถลดอาการไขหวัด และ
ลดอาการที่เกี่ยวของได อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001) เชนเดียวกับยาพาราเซตามอล (p<0.001) และ
เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนอุณหภูมิระหวางกลุม พบวา การใชยาจันทนลีลาและยาพาราเซตามอล
ในชวงระยะเวลาวันที่หนึ่งและวันที่สองไมมีความแตกตางกัน และพบวาในวันที่สามมีความแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยไมพบเหตุการณไมพึงประสงค และภาวะแทรกซอนหลังจากการใชยาจันทน
ลีลา
ขอสรุป การใชยาจันทนลีลาสามารถลดอาการไขหวัด และลดอาการที่เกี่ยวของ ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
(p<0.001) และการใชยาจันทนลีลาและยาพาราเซตามอลไมมีความแตกตางกัน โดยไมพบเหตุการณไมพึง
ประสงค และภาวะแทรกซอนหลังจากการใชยาจันทนลีลา
39