Page 38 - journal-14-proceeding
P. 38

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    OP60R2R0010 พัฒนาระบบจายยาสมุนไพรเพื่อลดอุบัติการณความคลาดเคลื่อน
                                    ทางยาในคลินิกเวชกรรมไทย



               ภัทรเวช พุฒิไพศาลภิวัฒน
               โรงพยาบาลพนมดงรักเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา  อําเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร

               หลักการและเหตุผล กลุมงานแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก รพ. พนมดงรักเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา
               ใหบริการแพทยแผนไทยในคลินิกเวชกรรมไทยแบบครบวงจรเบ็ดเสร็จในจุดเดียว  ตั้งแตการซักประวัติ ตรวจ
               รักษา ทําหัตถการ จายยาสมุนไพร ใหสุขศึกษาและสงเสริมสุขภาพ เมื่อหนวยงานไดทบทวนความเสี่ยงและ
               อุบัติการณจากการใหบริการของหนวยงาน พบวามีรายงานอุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication

               error) ในกระบวนการจายยาสมุนไพรใหผูปวย ไดแก การจายยาผิดชนิดยา การจายยาผิดตัวผูปวย และการ
               จายยาที่เสื่อมสภาพ ซึ่งหนวยงานยังไมมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่เปนขั้นตอน ดังนั้นกลุมงานแพทยแผนไทย
               และแพทยทางเลือก จึงพัฒนาระบบจายยาสมุนไพรขึ้นโดยใชวงจรการควบคุมคุณภาพเด็มมิ่ง (Deming

               Cycle) เพื่อลดอุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยาในคลินิกเวชกรรมไทย

               วัตถุประสงค  1. เพื่อพัฒนาระบบจายยาสมุนไพรโดยใชวงจรการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน 2. อัตราการเกิด
               อุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยาในคลินิกเวชกรรมไทยไมเกินรอยละ 2 ตอป


               วิธีดําเนินการ เปนการวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุมเปรียบเทียบ (Quasi-experimental study) กลุมประชากร
               เปนผูปวยทุกรายที่รับยาสมุนไพรในคลินิกเวชกรรมไทย ประเภทความคลาดเคลื่อนทางยาที่ศึกษาคือการจาย
               ยาผิดชนิดยา การจายยาผิดตัวผูปวย และการจายยาที่เสื่อมสภาพ โดยกําหนดอัตราการเกิดอุบัติการณความ

               คลาดเคลื่อนทางยาในคลินิกเวชกรรมไทยไมเกินรอยละ 2 ของผูมารับบริการตอป เปรียบเทียบระหวางชวง
               กอนและหลังพัฒนาระบบจายยาสมุนไพร ชวงกอนพัฒนาระบบเก็บขอมูลตั้งแต ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง
               กันยายน พ.ศ. 2558 รวม 2 ปงบประมาณ และเก็บขอมูลหลังพัฒนาระบบเก็บขอมูลตั้งแต ตุลาคม พ.ศ.
               2558 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2560 รวม 2 ปงบประมาณ


               ผลการศึกษา กอนพัฒนาระบบจายยาสมุนไพรโดยใชวงจรการควบคุมคุณภาพ มีรายงานอุบัติการณความ
               คลาดเคลื่อนทางยาใน พ.ศ. 2557 จายยาผิดชนิดยา รอยละ 2.66 จายยาผิดตัวผูปวย รอยละ 1.10 จายยาที่
               เสื่อมสภาพ  รอยละ  0.63  รวมอุบัติการณที่เกิดขึ้นทั้งสิ้นรอยละ 4.38  พ.ศ. 2558 จายยาผิดชนิดยารอยละ
               2.07 จายยาผิดตัวผูปวยรอยละ 1.77 จายยาที่เสื่อมสภาพรอยละ 1.18 รวมอุบัติการณที่เกิดขึ้นทั้งสิ้นรอยละ

               5.02  หลังพัฒนาระบบจายยาสมุนไพรโดยใชวงจรการควบคุมคุณภาพ พ.ศ. 2559 มีอุบัติการณจายยาผิดตัว
               ผูปวยรอยละ 0.26 การจายยาผิดชนิดยารอยละ 0.13 ไมมีรายงานการจายยาที่เสื่อมสภาพ รวมอุบัติการณที่
               เกิดขึ้นทั้งสิ้นรอยละ 0.39  พ.ศ. 2560 ไมมีรายงานอุบัติการณการจายยาผิดชนิดยา การจายยาผิดตัวผูปวย

               และการจายยาเสื่อมสภาพ

               ขอสรุป การพัฒนาระบบจายยาสมุนไพรเพื่อลดอุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยาในคลินิกเวชกรรมไทย

               เปนระบบที่มีมาตรฐานและสามารถลดอุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยาไดอยางมีประสิทธิภาพ





                                                         36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43