Page 37 - journal-14-proceeding
P. 37

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    OP60R2R0005 ผลของการกําจัดเหาดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพในนักเรียนประถม
                                    แหงหนึ่งเขตตําบลหวยใหญจังหวัดชลบุรี



               อุไรวรรณ พวงกลิ่น, ปรีเปรมพร เรียงผา
               โรงพยาบาลวัดญาณสังวราราม ต.หวยใหญ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

               หลักการละเหตุผล จากการสํารวจของกองกีฏวิทยาทางการแพทย กรมวิทยาศาสตร พบวา อัตราการเปนเหา
               เฉลี่ยของเด็กนักเรียนทั่วประเทศสูงถึงรอยละ 48.8 นักเรียนบางคนมีเหามากถึง 2,091 ตัว โดยสวนใหญเด็ก
               นักเรียนที่เปนเหาจะเรียนอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2-5 อายุเฉลี่ยอยูระหวาง 7-11 ป ศูนยอนามัยที่ 3
               ชลบุรี ไดมีการสํารวจโรคเหา ในนักเรียนระดับประถมศึกษาในเขต 2 และเขต 9 จํานวน 1,652 ราย พบวา เปน

               เหา 97 ราย คิดเปนรอยละ 5.8 ซึ่งแนวทางกําจัดเหามีหลายวิธี แตสวนใหญจะใชสารเคมี ในการกําจัดเหากันมาก
               และมีผลกระทบตอเด็ก บางคนแพ มีผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ  ตาอักเสบ  เปนตน

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการกําจัดตัวเหา ดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพ


               วิธีการดําเนินงาน  การศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาแบบเชิงทดลอง แบบทดสอบกอนและหลังการทดลอง ภายในกลุม
               เดียว กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนหญิงที่เปนเหาในโรงเรียนประถมแหงหนึ่ง เขตตําบลหวยใหญ จังหวัดชลบุรี สุม
               ตัวอยางแบบอยางงาย ตามเกณฑที่กําหนด คือ เปนนักเรียนหญิงที่ตรวจพบวามีตัวเหา  สมัครใจเขารวม และไดรับการ
               ยินยอมจากผูปกครองของนักเรียนในการเขารวมวิจัยในครั้งนี้ จํานวน 63 คน ขอตกลงเบื้องตน ไมใชยาหรือสมุนไพรที่
               มีผลตอการกําจัดเหา ไมมีการกําจัดเหาดวยวิธีอื่นๆควบคูกับการกําจัดเหาในครั้งนี้ ไมทําสิ่งใดๆที่มีผลตอการกําจัดเหา

               เขารวมกิจกรรมไมนอยกวา รอยละ 80    โดยกําหนดการกําจัดเหาทุกวันอังคารและวันศุกรของสัปดาห ติดตอกัน
               จํานวน 8 ครั้ง ดําเนินการตรวจจํานวนตัวเหาบนศีรษะของนักเรียนกอนเขารวมกิจกรรมกําจัดเหาดวยแชมพูกําจัดเหา
               ชีวภาพ โดยแบงศีรษะเปน 4  ดาน คือ ดานหนา-หลัง ดานขวา-ซาย จากนั้นใชหวีเสนียดสางเสนผม ใหตัวเหาหลนลง
               บนกระดาษสีขาว หวีดานละ 1 ครั้ง แลวนับจํานวนตัวเหา จดบันทึกขอมูล จากนั้นชโลมแชมพูกําจัดเหาชีวภาพใหทั่ว
               บนศีรษะจนชุม ทิ้งไว 10 นาที แลวลางออกดวยน้ําสะอาด เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล ไดนําเครื่องมือของ อุษา
               วดี  ถาวดีและคณะ(2531) มาประยุกตและปรับปรุงใหมเพื่อความเหมาะสมกับพื้นที่และกลุมประชากรที่ศึกษา  นําผล

               การศึกษาที่ไดมาวิเคราะหทางสถิติดวย ความถี่รอยละ  คาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t – test

               ผลการวิจัย พบวา กอนการกําจัดเหาดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพ กลุมตัวอยางมีเหาบนศีรษะ จากการสุมดวยการ
               หวีศีรษะ 4 ดานพบตัวเหาเฉลี่ยคนละ 6.8 ตัว  หลังการสระผมดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพพบตัวเหาเฉลี่ย คนละ
               0.60 ตัว เปรียบเทียบจํานวนตัวเหากอนและหลังการกําจัดเหาดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพจํานวนตัวเหาลดลง

               อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ  (p = 0.000)

               ขอสรุป จากการศึกษาพบวา หลังการกําจัดเหาดวยแชมพูกําจัดเหาชีวภาพทําใหจํานวนตัวเหาลดลง ซึ่งในแชมพูมี
               สวนประกอบคือ น้ําหมักลูกมะกรูดและน้ําหมักใบนอยหนา ซึ่งน้ํามันหอมระเหยจากผิวมะกรูดมีสารเรเซอรซินอล คอยกําจัด
               รังแค น้ํามะกรูดชวยขจัดคราบแชมพูและน้ํามันหอมระเหยชวยยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย  สวนใบนอยหนามีสารแอลคา

               ลอยด  แอนโนเนอีน  และเรซิน มีสรรพคุณในการฆาเหา ซึ่งจากการศึกษายังพบวาแชมพูกําจัดเหาชีวภาพชวยลดอาการคัน
               ศีรษะ ลดขั้นตอนในการกําจัดเหา สะดวกตอการนําไปใชและประหยัดคาใชจาย รวมทั้งไมพบอาการแพ หรือ ระคายเคืองจาก
               การใชแชมพูกําจัดเหาชีวภาพในการศึกษาครั้งนี้และนําผลที่ไดไปเผยแพรสูโรงเรียน และประชาชนผูสนใจตอไป





                                                         35
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42