Page 35 - journal-14-proceeding
P. 35

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    OPem81R การใชการนวดปรับสมดุลในผูปวยโรคถุงน้ําที่ขอมือ



               จิตตสกุล  ศกุนะสิงห, อุสา  โพธิ์เหล็ก, รุงนภา  เฉลยพจน
               กลุมงานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โรงพยาบาลรอยเอ็ด

               หลักการและเหตุผล โรคกอนถุงน้ําที่ขอมือ (Carpal ganglion)  เปนโรคที่พบไดบอยและปวดเรื้อรัง
               เปนเนื้องอกชนิดไมรายแรง พบไดบอยที่สุดของบริเวณมือและขอมือ โดยมีผนังของกอนถุงน้ําเปนเยื่อบุขอ
               หรือเยื่อหุมเสนเอ็น    ภายในกอนถุงน้ําจะมีน้ําไขขอบรรจุอยู โดยที่กอนถุงน้ํานี้จะมีชองติดตอกับขอมือ การ
               รักษา  มีหลายวิธี เชน การรักษาโดยวิธีทางเวชศาสตรฟนฟู เปนวิธีการรักษาที่ไมตองผาตัด การใชความรอน
               และ ความเย็นในการลดอาการปวด วิธีกดทําใหกอนแตก หรือวิธีเจาะดูดน้ําในกอนออก วิธีผาตัด และวิธีการ

               รักษาโดยการนวดสัมผัสปรับสมดุลโครงสรางรางกาย คณะผูวิจัยไดเห็นคุณคาของการนวดแผนไทย จึงนํามาใช
               ในการดูแลรักษาผูปวย เพื่อศึกษาผลการรักษาดวยวิธีการนวดปรับสมดุล ความคุมคา และความพึงพอใจของ
               ผูรับบริการ  ซึ่งประโยชนจากการนวดดังกลาวนาจะเกิดผลที่ดีตอการนํามาใชในการดูแลรักษาผูปวย และนํา

               ผลจากการศึกษามาใชในการบริการดานการแพทยแผนไทย ใหสามารถรองรับและแบงเบาภาระการบริการ
               ของการแพทยแผนปจจุบัน ลดภาระการรักษาที่เกินความจําเปน และลดภาระคาใชจายทางการแพทยของ

               ประเทศชาติ

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลการใชการนวดปรับสมดุลรักษาในผูปวยโรคถุงน้ําที่ขอมือ


               วิธีดําเนินการ การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยเลือกใชการนวดสัมผัสปรับสมดุลโครงสรางรางกาย กลุมทดลอง เปน
               ผูปวยโรคถุงน้ําที่ขอมือ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลรอยเอ็ด จํานวน 30 ราย ขนาดกอนถุงน้ําที่มือ ไมเกิน
               2 เซนติเมตร ทําการนวดปรับสมดุลในการรักษา ครั้งละ 45 นาที และประคบสมุนไพร 15 นาที และนัดนวด

               ติดตามผล วันเวนวัน จนกวาจะไมพบถุงน้ําที่ขอมือ  เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามและติดตามผลการนวดทาง
               โทรศัพท โดยติดตามผลในระยะ 3 เดือน  6 เดือน และ 1 ป วิเคราะหขอมูลแจกแจงขอมูลโดยใชความถี่รอย
               ละ  สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  เปรียบเทียบประสิทธิผลของการนวดกอนและหลังการทดลองในกลุมเดียวกัน
               โดยใช Pair simple t-test


               ผลการศึกษา พบวาการนวดปรับสมดุล สวนใหญในการนวด ขนาดกอนถุงน้ําเล็กลง  กอนนิ่มลงกวาเดิม
               เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของขนาดกอนถุงน้ํากอนและหลังการนวดปรับสมดุล พบวาขนาดกอนถุงน้ํา
               ลดลงแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)


               ขอสรุป ขนาดกอนถุงน้ําไมเกิน 2 เซนติเมตร กอนนิ่มไมแข็งมาก ควรใหการรักษาโดยวิธีการนวดปรับสมดุล
               และนอกเหนือจากการรักษาดวยวิธีนวดปรับสมดุลแลว การใหคําแนะนําผูปวยในการดูแลตนเองเบื้องตนและ
               หลีกเลี่ยงสาเหตุในการเจ็บปวย จะชวยลดและปองกันการกลับเปนซ้ําได







                                                         33
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40