Page 30 - journal-14-proceeding
P. 30

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                    OPem76R โครงการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทย

                                    ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2560


                                                   1
                                 1
                                                                   2
               อิทธิพัฒน เนตรทิพวัลย  , ศุภลักษณ ศิริมังคะโร  , สงกรานต ตรีโอสถ
               1
                กลุมงานแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก โรงพยาบาลเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
               2 กลุมงานอาชีวะเวชกรรม โรงพยาบาลเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

               หลักการและเหตุผล โรคขอเขาเสื่อมเปนโรคเรื้อรังของระบบกระดูกและกลามเนื้อที่พบบอยที่สุดในผูสูงอายุ
               การพอกยาและการประคบสมุนไพร เปนการนําตํารับยาสมุนไพรที่มีสรรพคุณชวยในการบรรเทาอาการปวด
               มาพอกและประคบที่เขาเพื่อลดอาการปวดจากขอเขาเสื่อม เขาไมมีกําลัง และยังสามารถชวยคลายกลามเนื้อ
               เพิ่มการไหลเวียนเลือดลมรอบๆ เขาใหดีขึ้น หัตถการทั้ง 2 ประเภทนี้ ผูปวยสามารถทําไดดวยตนเองที่บาน
               หรือใหลูกหลานชวยพอกหรือประคบใหได แมวาผลการรักษาดวยการพอกยาและการประคบสมุนไพรจะ

               ตอบสนองไดดีตอผูปวย แตยังไมมีหลักฐานเปนที่ประจักษ โครงการศึกษานี้ จึงไดรวมกันเก็บรวบรวมขอมูล
               บันทึกไวเปนหลักฐานเชิงประจักษในผลของการรักษาขอเขาเสื่อมดวยการพอกยาและประคบสมุนไพรไว เพื่อ
               ใชเปนขอมูลในการพัฒนาการรักษาผูปวยโรคขอเขาเสื่อมในอนาคตตอไป


               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของใชการยาพอกเขาและประคบสมุนไพรในการดูแลรักษาผูปวยขอเขาเสื่อม

               วิธีดําเนินการ การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( Action Research ) โดยใชการการประคบและพอกเขา
               สมุนไพรไทยรักษาอาการขอเขาเสื่อม สัปดาหละ 1 ครั้งติดตอกัน 5 สัปดาห ใชแบบประเมินในการเก็บขอมูล

               (oxford) และผูเขารวมโครงการจํานวน 80 คน และจะตองไมไดรับการรักษาอื่นๆ รวมดวย เชน การนวดแผน
               ไทย เปนตน

               ผลการดําเนินการ  พบวากอนทําหัตถการพบวาผูที่มีอาการปวดขอเขาอยางรุนแรงรอยละ 1.25 ผูที่มีอาการ
               ปวดขอเขาในระดับปานกลางรอยละ 30 ผูเริ่มที่มีอาการปวดเล็กนอยรอยละ 68.75 หลังทําหัตถการครั้งที่ 3

               จากการประเมินพบวาผูที่มีอาการปวดขอเขาอยางรุนแรงรอยละ 1.25 ผูที่มีอาการปวดขอเขาในระดับปาน
               กลางรอยละ 1.25 ผูที่มีอาการปวดขอเขาเล็กนอยรอยละ 80 และอาการดีขึ้นกวาทั้งสามระดับรอยละ 6.25
               หลังทําหัตถการครั้งที่ 5 จากการประเมินไมพบผูที่มีอาการปวดขอเขาอยางรุนแรง ผูที่มีอาการปวดขอเขาใน

               ระดับปานกลางรอยละ 1.25 ผูที่เริ่มมีอาการรอยละ 53.75 อาการดีขึ้นกวาทั้งสามระดับรอยละ 45 ดังนั้นจะ
               เห็นไดวา ผูที่มีอาการปวดขอเขาระดับรุนแรง ผูที่มีอาการปวดขอเขาระดับปานกลาง ผูที่มีอาการปวดขอเขาที่
               อยูในระยะเริ่มมีอาการ หลังทําหัตถการครบปรากฏวามีจํานวนลดลง อาการดีขึ้นกวาทั้งสามระดับมีจํานวน
               เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด สามารถนําขอมูลสวนนี้ไปตอยอดใหเปนมาตรฐานการรักษาโรคขอเขาเสื่อมในผูสูงอายุ

               โดยใชศาสตรการแพทยแผนไทยฯตอไป

               ขอสรุป โครงการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะขอเขาเสื่อมดวยศาสตรการแพทยแผนไทย ตําบลบานโพธิ์ อําเภอเสนา
               จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ป 2560 สามารถนําไปใชสงเสริมคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุในชุมชนได และเปนการ
               เผยแพรศาสตรการแพทยแผนไทยฯใหเปนที่ประจักษอีกทางหนึ่ง







                                                         28
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35