Page 28 - journal-14-proceeding
P. 28

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                    OPem66R   ผลของการใชตนไชยาประกอบอาหารแทนการใชผงชูรสในผูปวย
                                    โรคไตเรื้อรัง


               เหมราช ราชปองขันธ, ราตรี มนัสศิลา
               โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชบานดุง จังหวัดอุดรธานี


               หลักการและเหตุผล จากขอมูลการใหบริการคลินิกโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในป 2557 – 2559 รอยละ
               การควบคุม DM 48.9 , 45 และ 47.02  รอยละการควบคุมHT 89.6 , 92.71 และ 93.21 รอยละการเกิด
               ภาวะแทรกซอนทางไตของ DM/HT CKD stage 3b-5 รอยละ 28.40 , 27.21 และ 25.51จากขอมูลเบื้องตน
               จึงไดปรับกระบวนการดูแล CKD โดยมีเปาหมายรวมในสหวิชาชีพ CKD stage  1-3a  และstage 3b-5

               เปาหมายคือการชะลอไตเสื่อมโดยแยกกลุมผูปวยมาดูแลใน CKD clinic เฉพาะ และผลจากการดูแลพบวา มี
               ระดับGFR ลดลง รอยละ41.14 GFR คงที่ รอยละ 31.42 และ GFR เพิ่มขึ้นรอยละ 27.43 จากการวิเคราะห
               ขอมูลระดับ GFR ลดลง รอยละ41.14 พบวาพฤติกรรมการรับประทานอาหารยังไมเปลี่ยนแปลง ไดแก กินเค็ม
               รอยละ22.83 ลดเค็มลงแตยังใชชูรสอยู รอยละ49.77ลดเค็มลงงดใชชูรสรอยละ 24.65 และไมควบคุมรอยละ

               5.47 จากขอมูลพฤติกรรมการ กินเค็มลงแตยังใชชูรสอยู รอยละ49.77 ในการประกอบอาหาร ไดแก ตม แกง
               ผัด แจว ปน ตนไชยา (ตนผงชูรส) ชื่อวิทยาศาสตร CnidoscolusAconitifolius (M:II.) I.M.Johnst. หรือตน
               คะนา เม็กริโก หรือ ตนชายา หรือตนไชยา หรือตนกกแซบ ซึ่งอยูในวงศเดียวกับยางพารา ,สบูดํา หรือมัน

               สําปะหลัง ลักษณะใบกวาง มีแฉกตั้งแต 3 แฉกขึ้นไป และมีสารอาหารสูงกวาผักใบเขียว มาใชในการประกอบ
               อาหารแทนการใสชูรส ซึ่งลักษณะของตนไชยา จะมีรสชาติ กลมกลอม  นัว ขมเล็กนอย

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการใชตนไชยาประกอบอาหารแทนการใชผงชูรส

               วิธีดําเนินการ เปนการศึกษาแบบกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) ผูเขารวมไดรับการคัดเลือกแบบเจาะจง
               และสมัครใจ จํานวน 30 คน โดยเลือกเอา ผูปวยโรคไตเรื้อรัง ที่ไมสามารถเลิกกินผงชูรส หรือเครื่องปรุงรส โดยใชการ
               สัมภาษณ ตามแบบสอบถามตอการใชชูรส / เครื่องปรุงรสอื่นๆ และทดลองใชสิ่งทดแทนโดยใชตนไชยา 10 ใบ ในการใช

               ประกอบอาหารประเภทตม หรือแกง โดยขอหาม คือ หามรับประทานดิบเพราะมีสาร ชายาไนค ซึ่งมีพิษตอรางกาย โดย
               ผูปวยที่ใชตนไชยาไดรับการตรวจการทํางานของไต กอนและหลังการรับประทานใบตนไชยา นาน 3 เดือนแลวนําผลมา
               วิเคราะห โดยใชสถิตินามบัญญัติ คือความถี่ และรอยละ

               ผลการศึกษา จากประชากรกลุมตัวอยางผูปวยโรคไตเรื้อรัง จํานวน 30 คน เปนเพศชายรอยละ 20 เพศหญิง
               รอยละ 80 มีอายุเฉลี่ย 58 ป มีอาชีพเกษตรกร รอยละ 90 พบวา Stage 3  จํานวน 29 คน รอยละ 96.67

               Stage 4  จํานวน 1 คน  รอยละ 3.37  ไดใชใบไชยามาใชแทนผงชูรส จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 83.33
               ใชแทนบางบางเวลา จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 16.67 การทํางานของ eGFR เพิ่มขึ้น จากเดิม จํานวน 21
               คน คิดเปนรอยละ 70 การทํางานของ eGFR คงที่จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30 พบปริมาณการใชผงชูรส
               เฉลี่ยตอวันจํานวน 8.5 กรัม/วัน หรือ 3.7 ชอนชา./วัน หรือ 1 บ./วันหรือ 30 บาท/เดือน ดานความมั่นใจตอ

               การใชตนไชยาประกอบอาหาร มีความมั่นใจ รอยละ 100 มีความพึงพอใจในการใชตนไชยา รอยละ 100

               ขอสรุป จากการทดสอบสัมภาษณผูปวย/ญาติ พบวา สวนประกอบของตนไชยาสามารถใชแทนผงชูรสไดจริง
               และสามารถทําใหคา eGFR เพิ่มขึ้น ขอควรระวัง ในเรื่องการใชแนะนําหามใชในกลุมปวย CKD stage 4 – 5
               และ หามรับประทานดิบ เนื่องจากมีสารไซยาไนท ซึ่งมีพิษตอรางกาย สารนี้สามารถพบไดในอาหารพื้นบาน

               ของชาวอีสานไดแก หนอไม , มันสําปะหลัง


                                                         26
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33