Page 45 - journal-14-proceeding
P. 45
บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14
OP60R2R0015 การพัฒนากระบวนการดูแลรักษาผูปวยอัมพฤกษอัมพาตดวย
การแพทยแผนไทยในทีมสหวิชาชีพ
อมรินทร ชะเนติยัง
งานแพทยแผนไทย โรงพยาบาลภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ
หลักการและเหตุผล อัมพฤกษ อัมพาต Stroke หรือ Cerebrovascular disease จัดเปนโรคที่เปนปญหา
สาธารณสุขที่สําคัญทั่วโลกมีอัตราเสียชีวิตสูงมากเปนอันดับ 2 รองจากโรคหัวใจ ถึงจะไดรับการรักษาอยาง
ทันทวงทีก็อาจมีความพิการหลงเหลืออยู การแพทยแผนไทยเริ่มมีความสําคัญในการดูแลสุขภาพมากขึ้นจาก
การนํามาใชในการสงเสริมฟนฟูสุขภาพ โดยมีการประสานการทํางานที่ครอบคลุมไปถึงมิติสุขภาพองครวม
วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการดูแลรักษาผูปวยอัมพฤกษ อัมพาต ดวยการแพทยแผนไทยใน
ทีมสหวิชาชีพ อําเภอภูสิงห จังหวัดศรีสะเกษ
วิธีดําเนินการ เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุมตัวอยาง ผูปวยอัมพฤกษ อัมพาตคัดเลือกแบบเจาะจง 60 ราย
คุณสมบัติ ผูปวยและญาติยินยอมเขารวมการวิจัย พูดคุยสื่อสารได มีผูดูแลหลักอยางนอย 1 คน ระยะเวลาที่
ศึกษา สิงหาคม 2559 – มีนาคม 2560 เครื่องมือที่ใชประกอบดวย 2 สวน ไดแก สวนที่ 1 เครื่องมือที่ใชใน
การปฏิบัติการ ประกอบดวย 1) ศึกษาและวิเคราะหสถานการณ โดยการสังเกต สัมภาษณ สนทนากลุม นํา
ขอมูลที่ไดมาวางแผนและปฏิบัติตามแผน 2) พัฒนากระบวนการดูแลรักษาดวยการแพทยแผนไทยโดยสราง
หลักสูตร ฝกทักษะผูดูแล อบรมและเรียนรูรวมกันจากการปฏิบัติจริงโดยการใหการดูแลรักษากับผูปวยกลุม
ตัวอยาง ซึ่งไดแก การนวดราชสํานักเพื่อฟนฟูสภาพ การประคบสมุนไพร การบริหารรางกายดวยฤๅษีดัดตน
แชมือ-เทาดวยน้ําสมุนไพร ฝกสมาธิ 3) ติดตามเยี่ยมประเมินอยางสม่ําเสมอ สวนที่ 2 เครื่องมือที่ใชเก็บ
รวบรวมขอมูล 3 ชุด ประกอบดวย ชุดที่ 1 แบบสัมภาษณขอมูลทั่วไป ชุดที่ 2 แบบบันทึกประวัติการดูแล
รักษา ชุดที่ 3 แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจําวัน วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิง
พรรณนา
ผลการวิจัย พบวา ผลลัพธที่ไดจากกระบวนการที่พัฒนาขึ้น สามารถปฏิบัติและเห็นผลไดจริง มีการประชุม
ทีมสหวิชาชีพในการวางแผนดูแลรักษา นําบุคคลที่เห็นผลสนทนากลุมแลกเปลี่ยนระหวางทีมกับผูปวยผูดูแลหรือ
อสม. ที่รับผิดชอบ ติดตามเยี่ยมและสงตอขอมูลรวมกับเครือขาย จากการเก็บรวบรวมขอมูลวิเคราะหผลไดดังนี้
กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 53.3 อายุเฉลี่ย 59.9 ป ระยะเวลาที่ปวยนอยกวา 1 ป รอยละ 60
รองลงมา 1 – 2 ป รอยละ 30 และ มากกวา 2 ป รอยละ 10 การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตร
ประจําวัน 3 ครั้ง คือ รักษาครั้งแรก หลังรักษา 1 เดือน และหลัง 3 เดือน พบวาทั้ง 3 ครั้ง มีความแตกตางกันอยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.001 และเมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยพบวา หลังการรักษา 1 เดือน เพิ่มขึ้นจากแรก
รักษา และหลัง 3 เดือน เพิ่มขึ้นจากหลัง 1 เดือน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.001)
ขอสรุป การพัฒนากระบวนการดูแลรักษาผูปวยอัมพฤกษ อัมพาต ดวยการแพทยแผนไทยในทีมสหวิชาชีพ
ครั้งนี้มีประโยชนในการฟนฟูสภาพของผูปวย โดยจะตองมีการติดตามผลอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ เปนการ
เสริมสรางพลังใหแกทุกภาคสวน เพื่อตระหนักและเห็นถึงความสํา โดยมีทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวของเปนผูคอยให
การสนับสนุนการทํางาน รวมถึงปจจัยดานตางๆ ซึ่งนําไปสูการสงเสริมใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
43