Page 50 - journal-14-proceeding
P. 50

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                      OP60CR0052 การพัฒนาสื่อการตูนแอนิเมชั่นการปองกันการแพรระบาดของ
                                      โรคไขเลือดออกดวยสมุนไพรไทยผานภูมิปญญาหมอเมือง



                               1
                                                 2
                                                                   1
               วิลาวัณย  วิเศษวัชร  , ยุภาวรรณ  ดวงอินตา  , หงษศิริ  ภิยโยดิลกชัย
               1
                คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร
               2 คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร

               หลักการและเหตุผล โรคไขเลือดออกถือวาเปนปญหาสาธารณสุขในกลุมอาเซียน แตละปพบผูปวยไมต่ํากวาป
               ละ 200,000 ราย  เนื่องจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนพื้นที่เสี่ยงที่มีการเพาะพันธุยุงลายและพบ
               ผูปวยที่เปนโรคไขเลือดออกมากถึงรอยละ 75 ของผูปวยทั่วโลก จากปญหาของสถานการณและผลกระทบการ
               แพรระบาดของโรคไขเลือดออกดังกลาว จึงทําใหสนใจศึกษาการปองกันการแพรระบาดของโรคไขเลือดออก
               โดยไดสมุนไพรไทยซึ่งเปนภูมิปญญาดังเดิมของชาวบาน โดยการถอดบทเรียนการปองกันการแพรระบาดของ

               โรคไขเลือดออกจากกลุมหมอเมือง และนําเสนอในรูปแบบของสื่อการตูนแอนิเมชั่น เพื่อสรางแรงกระตุนและ
               จูงใจที่จะปฏิบัติตามแนวทางที่นําเสนอ อันจะสงผลทําใหสถานการณและจํานวนผูปวยโรคไขเลือดออกลดลง
               และที่สําคัญยังเปนการถายทอดความรูภูมิปญญาพื้นบานในรูปแบบสื่อสมัยใหม


               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาสื่อการตูนแอนิเมชั่นการปองกันการแพรระบาดของโรคไขเลือดออกดวยสมุนไพรไทย
               ผานภูมิปญญาหมอเมือง และเพื่อสรางความตระหนักรู ความรูความเขาใจ รวมทั้งประเมินความพึงพอใจตอสื่อ
               การตูนแอนิเมชั่นการปองกันการแพรระบาดของโรคไขเลือดออก


               วิธีการดําเนินการ การวิจัยแบบผสมผสานระหวาง วิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณหมอเมือง ตําบลดูใต
               อําเภอเมือง จังหวัดนาน และการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อการประเมินสื่อการตูนแอนิเมชั่น โดยใชกลุมตัวอยาง 2
               กลุม คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดนาน จํานวน 60 คน และอาสาสมัครสาธารณสุข

               ประจําหมูบาน (อสม.) อําเภอเมือง จังหวัดนาน จํานวน 60 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน

               ผลการศึกษา นักเรียนและ อสม. มีความตระหนักรูเกี่ยวกับคุณคาของสมุนไพรพื้นบาน และความพึงพอใจตอ
               สื่อแอนิเมชั่นระดับมาก หลังจากดูสื่อแอนิเมชั่นนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเลือดของผูปวยที่เปนโรค

               ไขเลือดออกจะมีเชื้อไวรัสแดงกี่ และตะไครหอมมีสรรพคุณขับไลยุงและแมลงมากที่สุด กลุม อสม. มีความรู
               ความเขาใจเกี่ยวกับโรคไขเลือดออกเปนโรคที่เกิดจากยุงลายบินไปกัดผูปวยที่เปนโรคไขเลือดออกมากที่สุด

               ขอสรุป นักเรียนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน มีความพึงพอใจตอแอนิเมชั่นระดับมาก

               โดยเฉพาะความพึงพอใจเกี่ยวกับความรูที่ไดจากสื่อการตูนแอนิเมชั่นจะสามารถนําความรูไปใชใน
               ชีวิตประจําวันได










                                                         48
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55