Page 54 - journal-14-proceeding
P. 54

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                       OP60CI0006 นวัตกรรมมือประสานมือพิชิตมือชา




               ธัชพล  คํานึง, ขนิษฐา  บุญธรรม, เพ็ญศรี  ผาสุก, อุทัยวรรณ  เพียนอก, มะลิวรรณ  เฉลยพจน
               โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลปลาขาว อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

               หลักการและเหตุผล  ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ มีผูปวยโรคเบาหวานที่มีปญหาภาวะแทรกซอนที่เสนประสาทที่มี
               อาการมือและนิ้วมือชาเพิ่มขึ้นทุกป โดยป 2560 มีจํานวน 24 คน จากผูปวยโรคเบาหวาน ทั้งหมด 278 คน ซึ่งอาการแทรก
               ซอนนี้เปนปจจัยสงเสริมใหเกิดแผล โดยเฉพาะในผูปวยที่มีโรคหลอดเลือดสวนปลายอุดตันรวมดวย และอาจจะสงผล
               กระทบใหผูปวยตองถูกตัดนิ้วหรือตัดขาบางสวน อันเปนสาเหตุของการเกิดทุพพลภาพในอนาคต วิธีการดูแลผูปวย
               ปจจุบันใชวิธีการกินยาเพื่อควบคุมระดับน้ําตาลรวมกับ การนวดรักษา ซึ่งมีขอจํากัดคือถาจะใหไดผลดีตองกระทําโดยผู

               ประกอบวิชาชีพนวดไทยหรือแพทยแผนไทยประยุกต และนวัตกรรมตางๆ ซึ่งสวนใหญเนนการดูแลเฉพาะอาการชาปลาย
               เทา เชน นวัตกรรมเหยียบกะลา สวนนวัตกรรมที่ รพ.สต. ปลาขาว ใชปจจุบันคือ การบีบลูกบอลยางเพื่อบริหารมือ แตมี
               ขอจํากัดคือมีตนทุนคอนขางสูง (40 บาท/อัน) ทีมสุขภาพจึงไดรวมคิดคนและพัฒนานวัตกรรม “มือประสานมือ พิชิตมือ
               ชา” ขึ้น โดยใชเมล็ดยางพาราซึ่งเปนสิ่งที่หางายในพื้นที่ มีลักษณะแข็ง ทนทาน และมักถูกทิ้งไปไมนํามาใชประโยชน

               วัตถุประสงค เพื่อพัฒนานวัตกรรม “มือประสานมือ พิชิตมือชา” ในการลดอาการมือชาในผูปวยเบาหวาน และเพื่อศึกษา
               ผลของการใชนวัตกรรม ในการลดอาการมือชาในผูปวยเบาหวาน

               วิธีดําเนินการ ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม ทีมสุขภาพเลือกใชเมล็ดของยางพาราซึ่งมีลักษณะแข็ง ทนทาน
               หาไดงายในพื้นที่ โดยใชถุงมือ Dispose ที่มีอยูใน รพ.สต.  มาประดิษฐนวัตกรรมในชวงแรกและใชงานจริง
               กับผูปวย พบวามีขอจํากัดเรื่องอายุการใชงานที่สั้น  จึงเปลี่ยนมาใชถุงมือยางแบบหนาสีสมที่สามารถใชงานไดนานขึ้นแทน

               โดยมีตนทุนวัสดุอุปกรณที่ใช ไดแก ถุงมือยางแบบหนา ราคา 10 บาท แปงมัน ¼ ถุง ราคา 2.50 บาท เมล็ดยางพาราแหง
               รวม 12 บาท/อัน ขั้นตอนการประดิษฐเริ่มจากใสแปงมันลงในถุงมือยาง ประมาณ 3 ชอนโตะพูน นําลูกยางพาราที่แกแลว
               มากะเทาะเปลือกเอาเมล็ดออก ลางใหสะอาด นําไปตากแดดใหแหง และนําเมล็ดยางพาราใสตามลงไปจนถุงมือใหมีขนาดที่
               สามารถกําและนวดได จากนั้นรัดปลายถุงมือใหแนน  ทดสอบประสิทธิภาพโดยนําไปใชกับกลุมเปาหมายซึ่งใชวิธีคัดเลือก

               แบบเจาะจง ไดแกผูปวยเบาหวานที่มีอาการชามือ ในเขตพื้นที่ ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ จํานวน 24  คน ซึ่ง
               กลุมเปาหมายสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 62.5 อยูในชวงอายุ 61-66 ป รอยละ 50.0 ระยะเวลาการกินยาเบาหวาน 6-
               10 ป รอยละ 62.5 ลักษณะครอบครัว อยูกับคูสมรส บุตร หลาน ญาติเปนครอบครัวใหญ รอยละ 45.8 มีภาวะแทรกซอน
               รอยละ 20.8 เปนแทรกซอนทางเทาและไตรอยละ 40.0 เทากัน และทางตา รอยละ 20.0  สําหรับวิธีใชนวัตกรรมนี้ ใชมือ
               กําสลับขางซาย-ขวา ครั้งละ 30 นาที วันละ 2 ครั้งทุกวัน เปนระยะเวลา 3 เดือน และเปรียบเทียบผลตางคาเฉลี่ยการลด
               อาการชามือ หลังใชนวัตกรรม 3 เดือน ดวยชุดทดสอบโมโนฟลาเมนท วิเคราะหผลของการใชนวัตกรรมกอนและหลัง โดย

               ใชสถิติ Pair sample t-test

               ผลการศึกษา กลุมเปาหมายมีอาการมือชาลดลงหลังใชนวัตกรรม จํานวน 14  คน คิดเปนรอยละ 58.3 ผลเปรียบเทียบ
               ผลตางคาเฉลี่ยการลดอาการมือชาพบวา คาเฉลี่ยอาการชามือหลังใชนวัตกรรม ภายหลังการใชนวัตกรรมสูงกวากอนการใช
               นวัตกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ <0.01 โดยกอนใชนวัตกรรมมีคาเฉลี่ยความชา เทากับ 2.21 (SD.=0.59) และ
               ภายหลังการการใชนวัตกรรม มีคาเฉลี่ยความชา เทากับ 3.00 (SD.=0.51)

               ขอสรุป นวัตกรรม “มือประสานมือ พิชิตมือชา” สามารถใชเพื่อลดอาการมือชาในผูปวยเบาหวาน แทนลูกบอลยางได โดย
               มีราคาตนทุนที่ถูกกวา และบริหารระหวางนิ้วมือไดอยางทั่วถึงกวา โดยการประสานนิ้วมือของผูใชนวัตกรรมกับนิ้วมือของ

               ถุงมือรวมถึงมีความคงทนใชไดนาน ทั้งนี้ควรมีการปรับวิธีการใช หรือเพิ่มระยะเวลาในการใชนวัตกรรมใหเหมาะสม เพื่อ
               เพิ่มประสิทธิผลในการลดอาการมือชามากยิ่งขึ้น


                                                         52
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59