Page 42 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 42
22 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
และศุกร์) ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ รวมทั้งหมด 12 ครั้ง โดยใช้ repeated measures ANOVA
2.1.2 กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการอบไอน�้า 2.2.3 ใช้สถิติอนุมานวิเคราะห์ความแตก-
ไม่มีสมุนไพร จ�านวน 31 คน ได้รับการอบครั้งละ 30 ต่างของค่าเฉลี่ยระดับอาการปวด (VAS) องศา
นาที (อบ 15 นาที พักนอกห้องอบ 5 นาที และเข้าอบ การเคลื่อนไหว (ROM) และอาการด�าเนินของโรค
ต่ออีก 15 นาที) สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (วันจันทร์ พุธ และ (WOMAC) ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบ
ศุกร์) ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ รวมทั้งหมด 12 ครั้ง เทียบโดยใช้ repeated measures ANOVA
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยก�าหนดให้ค่าความแตกต่างอย่างมีนัย
2.2.1 ใช้สถิติพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ส�าคัญทางสถิติ อยู่ที่ p < 0.05
ทั่วไปของประชากร ด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลก�รศึกษ�
เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.2.2 ใช้สถิติอนุมานวิเคราะห์ความแตก- 1. คุณลักษณะประช�กร
ต่างของค่าเฉลี่ยระดับอาการปวด (VAS) องศา คุณลักษณะประชากรของกลุ่มตัวอย่างทั้งสอง
การเคลื่อนไหว (ROM) และอาการด�าเนินของโรค กลุ่มมีความคล้ายคลึงกัน (p > 0.05) โดยพบว่ากลุ่ม
(WOMAC) ภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 50-70
ตารางที่ 2 จ�านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จ�าแนกตามข้อมูลลักษณะทางประชากร
ตัวแปร กลุ่มอบสมุนไพร กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) (n = 31) S.D. p-value
จ�านวน ร้อยละ จ�านวน ร้อยละ
เพศ
หญิง 17 54.84 22 70.97 0.13 0.231
ชาย 14 45.16 9 29.03
อายุ (ปี)
50-59 15 48.39 19 61.29 0.72 0.325
60-70 16 51.61 12 38.71
สถานภาพ
โสด 9 29.03 1 3.23 0.83 0.399
สมรส 20 64.52 24 77.42
หย่า 0 0 4 12.90
แยกกันอยู่ 2 6.45 2 6.45
อาชีพ
รับราชการ 7 22.58 8 25.81 4.79 0.882
ค้าขาย 13 41.94 15 48.39
ลูกจ้าง 2 6.45 1 3.23
เกษตรกร 6 19.35 3 9.68
อื่น ๆ 3 9.68 4 12.89
ระดับการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น 10 32.26 7 22.58 1.92 0.579
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช. 5 16.13 9 29.03
อนุปริญญา/ ปวส. 4 12.9 6 19.35
ปริญญาตรี 12 38.71 9 29.04