Page 45 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 45
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 25
ข้อฝืด, ข้อยึดในกลุ่มอบสมุนไพรน้อยกว่ากลุ่มอบ < 0.001) ในสัปดาห์ที่ 3 และสัปดาห์ที่ 4 ตามล�าดับ
ไอน�้าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) และ (p (ตารางที่ 9)
ตารางที่ 8 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับความปวดระหว่างกลุ่มอบสมุนไพร
และกลุ่มอบไอน�้า ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับความปวด
ก่อนการรักษา สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
กลุ่มอบสมุนไพร
(n = 31) 31.45 ± 4.32 29.84 ± 4.18 28.23 ± 4.75 23.87 ± 5.12 21.29 ± 4.08
กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) 31.61 ± 4.54 30.48 ± 5.06 29.19 ± 5.18 27.10 ± 5.59 25.00 ± 4.66
p-value 0.813 0.482 0.332 < 0.01* < 0.001*
*significant difference from baseline (p < 0.05)
ตารางที่ 9 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับอาการข้อฝืด, ข้อยึดระหว่างกลุ่มอบ
สมุนไพรและกลุ่มอบไอน�้า ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับอาการข้อฝืด, ข้อยึด
ก่อนการรักษา สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
กลุ่มอบสมุนไพร
(n = 31) 6.23 ± 0.92 6.06 ± 0.89 5.84 ± 0.74 5.42 ± 0.50 5.00 ± 0.68
กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) 6.26 ± 0.97 6.10 ± 0.83 5.94 ± 0.77 5.74 ± 0.65 5.55 ± 0.62
p-value 0.745 0.774 0.268 < 0.05* < 0.001*
*significant difference from baseline (p < 0.05)
ตารางที่ 10 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับความสามารถในการใช้งานข้อระหว่าง
กลุ่มอบสมุนไพรและกลุ่มอบไอน�้า ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยการประเมินอาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับความสามารถในการใช้งานข้อ
ก่อนการรักษา สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
กลุ่มอบสมุนไพร
(n = 31) 90.97 ± 10.68 89.35 ± 10.55 84.84 ± 8.42 80.65 ± 8.54 77.10 ± 11.01
กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) 90.81 ± 9.23 89.19 ± 8.67 86.13 ± 7.93 85.48 ± 7.11 84.19 ± 9.50
p-value 0.935 0.822 0.225 < 0.01* < 0.001*
*significant difference from baseline (p < 0.05)