Page 40 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 40

20 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า โดยศึกษาถึงระดับอาการ  1.96 (2 sided test)
             ปวด องศาการเคลื่อนไหวของเข่า และความรุนแรง      ก�าหนดให้  Type II error ไม่เกิน 20% = Z   =
                                                                                             b
             ของอาการ                                    0.84

                                                             n  =  จ�านวนตัวอย่างที่ศึกษาในแต่ละกลุ่ม
                         ระเบียบวิธีศึกษ�                    p    =  สัดส่วนการมีระดับความปวดลดลงใน
                                                              1
                 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงทดลอง   ตัวอย่างกลุ่มการอบสมุนไพร
             (experimental study) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม วัดผลก่อน     p  2   =  สัดส่วนการมีระดับความปวดลดลงใน
             และหลังการทดลอง ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม คือ  ตัวอย่างกลุ่มการอบไอน�้า

             กลุ่มทดลองได้รับการอบสมุนไพร และกลุ่มเปรียบ     p  =  (p + p )/ 2
                                                                       2
                                                                    1
             เทียบได้รับการอบไอน�้าไม่มีสมุนไพร ทั้ง 2 กลุ่มได้รับ     แทนค่า  n = 31 คน
             การอบครั้งละ 30 นาที (อบ 15 นาที พักนอกห้องอบ 5      ดังนั้นได้จ�านวนกลุ่มตัวอย่าง 62 คน และแบ่ง
             นาที และเข้าอบต่ออีก 15 นาที) สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (วัน  กลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม อย่างน้อยกลุ่มละ 31
             จันทร์ พุธ และศุกร์) ติดต่อกัน 4 สัปดาห์ รวมทั้งหมด   คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลาก ตาม

             12 ครั้ง ได้ผ่านการอนุมัติให้ด�าเนินการวิจัยจากคณะ  คุณสมบัติเงื่อนไขที่ก�าหนดและผ่านตามเกณฑ์การ
             กรรมการพิจารณาศึกษาวิจัยในคนด้านการแพทย์    คัดเข้า (inclusion criteria) ดังนี้
             แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ สธ 0503.09/228      1.1.1  เกณฑ์การคัดเข้า (inclusion criteria)

             โดยท�าการศึกษาในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย              1) เพศหญิงหรือเพศชายที่มีอายุตั้งแต่
             และการแพทย์ผสมผสาน กรุงเทพมหานคร            50-70 ปี
                                                                  2) ได้รับการซักประวัติ ตรวจร่างกาย
             1. วัสดุ                                    และวินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมสอดคล้องอาการ

                 1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง            ตาม American College of Rheumatology [15-16]

                 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้ป่วยที่ได้รับ  ได้แก่
             การวินิจฉัยร่วมกันระหว่างแพทย์แผนไทยและแพทย์            - มีอาการปวด (VAS) ข้อเข่าขณะยืน
             แผนปัจจุบัน ด้วยโรคลมจับโปงแห้งเข่าโดยแพทย์  ลงน�้าหนัก ≥ 5 ใน 10 คะแนน

             แผนไทย และโรค osteoarthritis of the knee โดย            - อาการฝืดแข็งของข้อเข่าในตอนเช้า
             แพทย์แผนปัจจุบัน ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาล             - มีเสียงกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหว

             การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน                     3) ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นข้อห้ามใน
                 โดยใช้สูตรค�านวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง       การอบสมุนไพร เช่น มีไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส

             n =                                         สตรีขณะมีประจ�าเดือนร่วมกับมีไข้ และอาการปวด
                                                         ศีรษะ ความดันโลหิตสูงเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท
                 ก�าหนดให้  p  = 0.83   p  = 0.50  p = 0.665   (ขณะนั่งพักและวัดซ�้าได้ผลเช่นเดียวกัน 2 ครั้ง) โดย
                           1
                                       2
                 ก�าหนดให้  Type I error  ไม่เกิน 5% = Z =     ได้รับการตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์แผนไทย/แพทย์
                                                 α/2
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45