Page 35 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 35

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  15




              สองชนิดนี้ ออกฤทธิ์ผ่านกลไกเดียวกันกับยาต้าน  สเปรย์กระดูกไก่ด�าจริง มิใช่ผลจากปรากฏการณ์การ
              การอักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs)  ซึ่งมี  รักษาหลอกและผลการลดปวดของเมนทอล การบูร
                                                [10]
              ความสอดคล้องกับการศึกษาของ อ�าพล บุญเพียร   และน�้ามันหอมระเหยเปปเปอร์มิ้นต์  ซึ่งเป็นส่วนผสม

              และคณะ ในปี 2018  โดยผลการศึกษาดังกล่าวพบ   ของสเปรย์กระดูกไก่ด�าและสเปรย์หลอกในสัดส่วนที่
                             [10]
              ว่า การนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�า มีผลท�าให้ระดับ  เท่ากันทุกประการ

              อาการปวดลดลง องศาการเคลื่อนไหวคอ และระดับ       ตัวแปรคือ ผู้เข้าร่วมวิจัย รับประทานยากลุ่ม
              ความรู้สึกกดเจ็บเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ที่  NSAIDs ในช่วงของการศึกษา ซึ่งอาจมีผลในการลด
              ระดับค่า p < 0.05 นอกจากนี้การศึกษาของ Jaijesh   อาการปวดและการอักเสบของกล้ามเนื้อ จึงได้สุ่มแบบ

              Paval และคณะ ในปี 2009  พบว่า สารสกัดของต้น  แยกผู้ร่วมวิจัยที่รับประทานยากลุ่ม NSAIDs ร่วมให้
                                   [9]
              กระดูกไก่ด�าด้วยเอทานอล มีฤทธิ์ anti-arthritic ใน  อยู่ในทั้งสองกลุ่มในจ�านวนใกล้เคียงกัน เพื่อลดผล

              หนูทดลอง อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ เช่นเดียวกับ  กระทบต่อผลการศึกษา อย่างไรก็ตามในการศึกษา
              ฤทธิ์ของ Aspirin อย่างไรก็ตาม การศึกษาที่กล่าวมา  ครั้งต่อไป ควรควบคุมตัวแปร การรักษาด้วยการกินยา
              ข้างต้น มีความแตกต่างจากการศึกษาครั้งนี้ อยู่หลาย  กลุ่ม NSAIDs ร่วมด้วยระหว่างศึกษา และควรศึกษา

              ประการ เช่น พยาธิสภาพของผู้เข้าร่วมวิจัย จ�านวน  ประสิทธิผลของกระดูกไก่ด�าต่อการลดการอักเสบ
              ครั้งที่รักษา วิธีการรักษา เป็นต้น          ของกล้ามเนื้อ เพื่อยืนยันข้อมูลเชิงประจักษ์ให้ชัดเจน
                   เมื่อพิจารณาผลการศึกษาในกลุ่มควบคุมซึ่ง  มากขึ้น

              ได้รับสเปรย์หลอก พบว่า ค่าคะแนนระดับความ
              ปวดกล้ามเนื้อลดลง และสามารถเพิ่มองศาการ                     ข้อสรุป
              เคลื่อนไหวของการก้มคอ การเอียงศีรษะไปทางซ้าย     การศึกษาครั้งนี้พบว่า สเปรย์กระดูกไก่ด�า

              และขวาได้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ซึ่งอาจเป็นผล  สามารถลดระดับความเจ็บปวด ลดความตึงของ
              จากปรากฏการณ์การรักษาหลอก (placebo effect)   กล้ามเนื้อคอโดยเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของกล้าม

              และอาจเนื่องจากในสเปรย์หลอกยังมีสารส�าคัญที่มี  เนื้อคอได้ ไม่พบอาการข้างเคียง หรืออาการแพ้ที่เกิด
              ฤทธิ์ลดปวด เช่น การบูร  เมนทอล  และ น�้ามัน  จากสเปรย์กระดูกไก่ด�า จึงควรพัฒนาการใช้สมุนไพร
                                 [11]
                                           [12]
              หอมระเหยเปปเปอร์มิ้นต์  ด้วย แต่เมื่อเปรียบ  กระดูกไก่ด�าในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อในผู้ป่วย
                                   [13]
              เทียบผลดังกล่าวกับผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่ม พบว่า  เพื่อให้เกิดประโยชน์และปฏิบัติตามแนวพระราชด�ารัส
              กลุ่มทดลองที่ได้รับสเปรย์กระดูกไก่ด�ามีค่าคะแนน  ว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสนับสนุนการ

              ระดับความเจ็บปวดลดลงมากกว่า มีจ�านวนคนที่   ใช้สมุนไพรไทย และส่งเสริมเชิงอุตสาหกรรม เพื่อ
              สามารถก้มได้หลังท�าการทดลองมากกว่า มีค่ามุม  ประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติต่อไป
              องศาการเอียงที่เปลี่ยนแปลงของการเอียงศีรษะ

              ไปทางซ้ายและขวามากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี              กิตติกรรมประก�ศ
              นัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) แสดงให้เห็นว่า ผล     ขอขอบคุณ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลสตูล ที่
              ดังกล่าวเป็นผลจากประสิทธิภาพในการรักษาของ   ให้การสนับสนุนการศึกษาเป็นอย่างดี
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40