Page 31 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 31
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 11
รับยาสเปรย์กระดูกไก่ด�า และสเปรย์หลอก ต่อผลการ กล้ามเนื้อบริเวณ บ่า คอ และ ไหล่จ�านวนกลุ่มละ 30
ปวดกล้ามเนื้อ คอ บ่า ไหล่ โดยใช้สถิติ Chi Square คน น�าเสนอผลการศึกษา ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
test 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ได้แก่ เพศ และอายุ
ประวัติการรับประทานยาบรรเทาปวดร่วมด้วยขณะ
ผลก�รศึกษ� เข้าร่วมการวิจัย ระดับอาการปวด และระดับความ
ประสิทธิผลของการใช้สเปรย์กระดูกไก่ด�าเพื่อ ปวดเริ่มต้น
ลดอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณ บ่า คอ ไหล่ ระหว่าง 2. คะแนนความเจ็บปวด ที่เปลี่ยนแปลงไป
กลุ่มทดลองที่ได้รับสเปรย์กระดูกไก่ด�า และกลุ่ม ก่อน และหลังเข้ารับการฉีดสเปรย์
ควบคุมที่ได้รับสเปรย์หลอก ในผู้ป่วยที่มีอาการปวด 3. การประเมินความตึงของกล้ามเนื้อ โดยการ
ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มทดลอง ( n = 30 ) กลุ่มควบคุม ( n = 30 ) p-value
จำานวน ร้อยละ จำานวน ร้อยละ
เพศ 0.072
ชาย 5 16.7 11 36.7
หญิง 25 83.3 19 63.3
อายุ (ปี) 0.367
< 40 ปี 3 10.0 5 16.7
40-50 ปี 11 36.7 12 40.0
> 50 ปี 16 53.3 13 43.3
การกินยาบรรเทาอาการปวด 0.500
กิน 8 26.7 9 30.0
ไม่กิน 22 73.3 21 70.0
ระดับอาการปวด 0.915
ไม่ปวด 0 0.00 0 0.00
ปวดเล็กน้อย 5 16.67 1 3.33
ปวดพอรำาคาญ 1 3.33 4 13.33
ปวดจนรู้สึกรบกวนชีวิตการดำาเนินชีวิต 12 40.00 9 30.00
ปวดจนทุกข์ทรมาน 10 33.33 15 50
ปวดจนทนไม่ได้ 2 6.67 1 3.33
ระดับความปวดเริ่มต้น (ระดับ) 0.805
4 0 0 1 3.33
5 5 16.7 5 16.7
6 5 16.7 3 10.0
7 8 26.7 11 36.7
8 9 30.0 8 26.7
9 2 6.7 2 6.7
10 1 3.33 0 0