Page 28 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 28

8   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




                                                         และน�้ามันหอมระเหยเปปเปอร์มิ้นต์  ทั้งนี้ เพื่อ
                                                                                      [13]
                                                         ป้องกันอคติจากการประเมินผลของผู้ประเมินผลและ
                                                         ผู้เข้าร่วมวิจัย บรรจุในขวดสเปรย์สีขาวขุ่น ติดฉลาก

                                                         “สเปรย์กระดูกไก่ด�า  B’’
                     ภาพที่ 1  กรอบแนวคิดการศึกษา            1.3  กลุ่มตัวอย่าง

                                                             ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ ผู้ป่วยที่มารับการตรวจรักษา
             คณะกรรมการจริยธรรมในมนุษย์ โรงพยาบาลสตูล    อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ จากการท�างาน โดย
             หมายเลขรับรอง ETA001/63 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2563  ได้รับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทย และมี

                                                         คุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ก�าหนดจ�านวน 60 คน ผู้เข้า
             1. วัสดุ                                    ร่วมวิจัยจะได้ทราบวัตถุประสงค์ของการศึกษา วิธีการ


                 1.1  สเปรย์กระดูกไก่ด�าที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้   ศึกษา อันตรายหรืออาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจาก
             เตรียมโดยเภสัชกรของโรงพยาบาลสตูล โดยมีส่วน  การศึกษา ได้แก่ อาการแพ้สมุนไพร แพ้แอลกอฮอล์
             ประกอบ คือ สารสกัดกระดูกไก่ด�า 400 ซีซี เมนทอล   คือมีอาการผื่นคัน หรือแพ้หายใจไม่ออก และการ

             100 กรัม การบูร 120 กรัม และน�้ามันหอมระเหย   ปฏิบัติตัวในระหว่างที่เข้าร่วมการวิจัย ได้แก่ ห้ามล้าง
             กลิ่นเปปเปอร์มินต์ 10 ซีซี โดยการน�าเมนทอลและ  ออกหรืออาบน�้าจนกระทั่งครบ 3 ชั่วโมง สามารถรักษา
             การบูร มาผสมกัน คนจนละลาย จากนั้นเติมสาร    ด้วยการกินยากลุ่ม NSAIDs ร่วมด้วย แต่ห้ามรักษา

             สกัดกระดูกไก่ด�าและน�้ามันหอมระเหย คนให้เข้า  ด้วยการนวด ประคบ ฝังเข็ม กายภาพบ�าบัด และ
             กัน (เทใส่ขวดสเปรย์สีขาวขุ่น) ติดฉลาก “สเปรย์  ฉีดยาแก้ปวดก่อนเข้าร่วมวิจัย ในวันนั้น ๆ โดยมีการ
             กระดูกไก่ด�า A’’ การเตรียมสารสกัดกระดูกไก่ด�า   ก�าหนดรหัสกลุ่มตัวอย่างเพื่อรับสเปรย์กระดูกไก่ด�า

             เตรียมได้จากสมุนไพรกระดูกไก่ด�าส่วนล�าต้นและ  และสเปรย์หลอก มีเกณฑ์การคัดเข้า คัดออก ดังนี้
             ใบ ที่มีอายุ ประมาณ 4 เดือน ตัดเหนือดินประมาณ        1)  เกณฑ์การคัดเข้า : เป็นชายหรือหญิง อายุ

             5-10 เซนติเมตร น�ามาล้างท�าความสะอาด แล้วผึ่ง  20–60 ปี ได้รับการตรวจวินิจฉัยว่า มีอาการปวดกล้าม
             ลมให้แห้ง จากนั้นหั่นให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ  500 กรัม   เนื้อ คอ บ่า ไหล่ ที่มีระดับความปวด ตั้งแต่ ระดับ 4
             หมักในเอทิลแอลกอฮอล์ 95% จ�านวน 5,000 ซีซี เป็น  ขึ้นไป และเข้าร่วมการวิจัยด้วยความสมัครใจ

             เวลา 10 วัน ระเหยแอลกอฮอล์ ออกให้หมด              2)  เกณฑ์การคัดออก : เป็นผู้ป่วยที่ได้รับ
                 1.2  สเปรย์หลอก มีส่วนประกอบและวิธีการท�า  การรักษาด้วยการนวด ประคบ ฝังเข็ม กายภาพบ�าบัด

             เช่นเดียวกันกับสเปรย์กระดูกไก่ด�าทุกประการ ยกเว้น  และฉีดยาแก้ปวด ก่อนเข้าร่วมวิจัย มีอาการโรค
             การใส่สารสกัดกระดูกไก่ด�า ทั้งนี้เพื่อ ให้สเปรย์หลอก  หมอนรองกระดูกสันหลังคอเสื่อมรุนแรง ที่ท�าให้เกิด
             ยังคงมีคุณสมบัติทั่วไป เหมือนกับสเปรย์กระดูกไก่  อาการอ่อนแรงหรืออาการทางประสาทรับความรู้สึก

             ด�าทุกประการยกเว้นคุณสมบัติของสารสกัดกระดูก  ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มีการเคลื่อนไหวล�าบากจากข้อผิด
             ไก่ด�า  เช่น กลิ่น รู้สึกเย็นเมื่อสัมผัส และอาจรวมถึง  รูป หรือกระดูกคด ผู้ป่วยที่มีประวัติเกิดอุบัติเหตุ ส่ง
             ผลในการลดปวด ที่เกิดจากการบูร , เมนทอล      ผลให้กระดูกเคลื่อน หักร้าว บริเวณ คอ บ่า ไหล่ หญิง
                                         [11]
                                                   [12]
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33