Page 33 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 33
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 13
กลุ่มควบคุม (ตารางที่ 3) ส�าคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) (ตารางที่ 4)
3.2 การประเมินความตึงของกล้ามเนื้อ ด้วย
3. ก�รประเมินคว�มตึงของกล้�มเนื้อ โดยก�ร การเอียงศีรษะ ไปทางซ้าย-ขวา ข้อมูลของผู้เข้าร่วม
วัดองศ�ก�รเคลื่อนไหว วิจัย (ตารางที่ 5) พบว่า ทั้งสองกลุ่มมีมุมองศาการ
3.1 การประเมินความตึงของกล้ามเนื้อ ด้วย เอียงคอที่ลดลง เมื่อใช้ไหล่เป็นแนวระนาบ นั่นคือ ทั้ง
การก้ม พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 2 กลุ่ม มีจ�านวนคนที่ สองกลุ่มสามารถเอียงคอ ได้เพิ่มมากขึ้น ภายหลังการ
ก้มได้หลังท�าการทดลองในแต่ละครั้งของการทดลอง ทดลองแต่เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลของทั้ง 2 กลุ่ม พบ
มากกว่าก่อนท�าการทดลอง แต่เมื่อเปรียบเทียบ ว่า กลุ่มทดลอง มีมุมองศาการเอียงหลังการทดลอง
จ�านวนคนที่ก้มได้หลังท�าการทดลองระหว่างทั้งสอง ลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
กลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมีจ�านวนคนที่สามารถก้มได้ (p-value < 0.05)
หลังท�าการทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัย
ตารางที่ 4 จำานวนผู้เข้าร่วมวิจัยที่ก้มได้ ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
กิจกรรม การศึกษา กลุ่มทดลอง (n = 30) กลุ่มควบคุม (n = 30) p-value
ครั้งที่ ก่อน หลัง ก่อน หลัง
จำานวน ร้อยละ จำานวน ร้อยละ จำานวน ร้อยละ จำานวน ร้อยละ
ก้มได้ 1 5 16.7 13 43.3 0 0 7 23.3 0.001
2 10 33.3 24 80.0 5 16.7 13 43.3 0.001
3 18 60.0 29 96.7 9 30.0 19 63.3 0.001
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบค่ามุมองศาการเอียงศีรษะไปทางซ้ายและขวา ก่อนและหลังการทดลอง
กิจกรรม การศึกษา กลุ่มทดลอง (n = 30) กลุ่มควบคุม (n = 30) p-value
ครั้งที่ ก่อน หลัง ก่อน หลัง
ค่าเฉลี่ย S.D. ค่าเฉลี่ย S.D. ค่าเฉลี่ย S.D. ค่าเฉลี่ย S.D.
ของ ของ ของ ของ
องศา องศา องศา องศา
เอียงซ้าย 1 52.267 6.362 44.767 8.286 49.600 5.805 48.467 6.067 0.008
2 51.500 6.596 40.833 7.260 49.300 5.415 48.100 6.082 0.017
3 47.600 5.928 37.067 6.848 48.467 5.877 46.433 7.094 0.042
เอียงขวา 1 50.300 5.528 43.200 8.256 49.600 6.866 47.333 7.604 0.000
2 48.400 5.893 38.633 6.955 48.767 6.922 47.500 7.128 0.014
3 45.200 5.647 33.467 6.404 47.367 7.044 46.133 8.374 0.000