Page 29 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 29

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  9




              ตั้งครรภ์/ ให้นมบุตร ผู้แพ้กระดูกไก่ด�า แอลกอฮอล์   หรือประมาณ 3 ข้อนิ้วชี้ พ่นจ�านวน 3 ครั้ง/พื้นที่ปวด
              และผู้เข้าร่วมวิจัยขอลาออกจากการเข้าร่วมวิจัยระหว่าง  แต่ละจุด แล้วนั่งพัก 30 นาที แล้วผู้เข้าร่วมวิจัยจะท�า
              ทดลอง/ ไม่สามารถเข้าร่วมวิจัยได้ครบตามเกณฑ์  แบบประเมินระดับความเจ็บปวด และรับการประเมิน

                   3)  เกณฑ์ให้ออกจากการวิจัย : ผู้เข้าร่วมวิจัยขอ  ความตึงของกล้ามเนื้อคอจากผู้ประเมิน หลังท�าการ
              ถอนตัวระหว่างการทดลอง / ไม่สามารถเข้าร่วมวิจัย  ทดลองอีกครั้ง ทั้งนี้ ผู้เข้าร่วมการวิจัยจะได้รับการฉีด

              ได้ครบตามเกณฑ์ หรือผู้วิจัยขอให้ออก เนื่องจากมี  สเปรย์และประเมิน จ�านวน 3 ครั้ง ภายในเวลา 10 วัน
              อาการแพ้อย่างรุนแรง                               2)  กลุ่มควบคุม ได้รับสเปรย์หลอก
                                                                   ผู้เข้าร่วมวิจัย ก่อนท�าการทดลอง จะท�า
              2. วิธีก�รศึกษ� (ภาพที่ 2)                  แบบประเมินระดับความเจ็บปวด numeric rating

                   2.1  การรักษา                          score ด้วยตนเอง และรับการประเมินความตึงของ

                   ผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ จะถูก  กล้ามเนื้อคอด้วยการประเมินองศาการเคลื่อนไหว
              จัดให้อยู่ใน 2 กลุ่มโดยการสุ่ม และสุ่มแยกชั้นตาม  คอจากผู้ประเมิน เมื่อได้รับการฉีดพ่นสเปรย์หลอก
              ลักษณะการกินยากลุ่ม NSAIDs ร่วมด้วยในช่วงการ  บนบริเวณที่มีอาการ แล้วนั่งพัก 30 นาที จากนั้นผู้เข้า

              ด�าเนินการศึกษา  เพื่อลดความไม่สมดุลของลักษณะ  ร่วมวิจัยจะท�าแบบประเมินระดับความเจ็บปวด และ
              พื้นฐาน กลุ่มทดลองจะได้รับการรักษาอาการปวดด้วย  รับการประเมินความตึงของกล้ามเนื้อคอหลังท�าการ
              สเปรย์กระดูกไก่ด�า (สารสกัดกระดูกไก่ด�า-เมนทอล-  ทดลอง โดยผู้ตรวจประเมินเป็นคนเดียวกัน สถาน

              การบูร น�้ามันหอมระเหยเปปเปอร์มิ้นต์) จ�านวน 30   ที่ และสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวของผู้เข้าร่วมวิจัย
              คน และกลุ่มควบคุมจะได้รับสเปรย์หลอก (เมนทอล-  (อุณหภูมิ เตียง เสื้อผ้า ส�าหรับสวมใส่ และอื่น ๆ) จะ
              การบูร-น�้ามันหอมระเหยเปปเปอร์มิ้นต์) 30 คน   มีลักษณะเช่นเดียวกับกลุ่มทดลองทุกประการ

                     1)  กลุ่มทดลอง ได้รับยาสเปรย์กระดูกไก่ด�า     2.2  การประเมินความตึงของกล้ามเนื้อคอ โดย
                        ผู้เข้าร่วมวิจัย ก่อนท�าการทดลอง จะ  การวัดการเคลื่อนไหวของคอ ด้วยการก้ม การเอียง

              ท�าแบบประเมินระดับความเจ็บปวด numeric       ศีรษะไปทางซ้าย และเอียงขวา ด้วยเครื่องมือวัดองศา
              rating score ด้วยตนเอง และรับการประเมิน     การเคลื่อนไหวของข้อ
              ความตึงของกล้ามเนื้อคอด้วยการประเมินองศา           1) การประเมินองศาการก้ม: โดยการให้ผู้

              การเคลื่อนไหวคอจากผู้ประเมิน ซึ่งผู้ประเมินเป็น  เข้าร่วมวิจัย ค่อย ๆ ก้มหน้าลงช้า ๆ เมื่อมีอาการเจ็บ
              คนเดียวกันตลอดการศึกษาและเป็นผู้ผ่านการ     ให้หยุด หากสามารถก้มจนปลายคางชิดอกได้ ถือว่า

              เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรการแพทย์แผนไทย    สามารถก้มได้ หากปลายคางไม่ชิดอก ถือว่าก้มไม่ได้
              วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข           2) การเอียงศีรษะ ไปทางซ้าย-ขวา: โดยการ
              กาญจนาภิเษก และได้ด�าเนินการฝึกการตรวจประเมิน  ให้ผู้เข้าร่วมวิจัย เอียงศีรษะไปทางซ้าย/ ขวา ให้มาก

              องศาการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อคอ เมื่อผู้ป่วยได้รับการ  ที่สุดโดยไม่มีอาการเจ็บ (หรือเมื่อเริ่มรู้สึกเจ็บให้หยุด
              ฉีดพ่นสเปรย์กระดูกไก่ด�าบนบริเวณที่มีอาการ โดยให้  ทันที) โดยวัดมุมที่ท�ากับฐานคอ วางเครื่องวัดองศา
              หัวสเปรย์ห่างจากบริเวณที่ปวดประมาณ 10-15 ซม.   การเคลื่อนไหวที่บริเวณกึ่งกลางศีรษะของผู้เข้าร่วม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34