Page 32 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 32
12 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
วัดองศาการเคลื่อนไหว ได้แก่ การประเมินการก้ม ที่ 2) จากการด�าเนินการพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสอง
องศาการเอียงศีรษะไปทางซ้ายและขวา กลุ่ม มีค่าคะแนนความเจ็บปวดก่อนท�าการทดลอง
สูงกว่าหลังท�าการทดลอง อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย (p-value < 0.05)
ข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมวิจัยในครั้งนี้ (ตาราง เมื่อน�าค่าคะแนนความเจ็บปวด ของผู้เข้าร่วม
ที่ 1) โดยเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลทั่วไป ระหว่างกลุ่ม วิจัยทั้งสองกลุ่ม ก่อนและหลังท�าการทดลองตาม
ทดลอง และกลุ่มควบคุม ในเรื่องของเพศ อายุ จ�านวน ข้อมูลในตารางที่ 2 มาพิจารณาหาค่าคะแนนของความ
ผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีการกินยากลุ่ม NSAIDs ร่วมด้วย เจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลง ได้ดังนี้
ระดับอาการปวด และ คะแนนระดับความปวดเริ่มต้น ค่าคะแนนความเจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลง = ค่า
พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ คะแนนความเจ็บปวดก่อนทดลอง – ค่าคะแนนความ
(p-value > 0.05) เจ็บปวดหลังทดลอง
จากผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสอง
2. คะแนนคว�มเจ็บปวด ที่เปลี่ยนแปลงไป กลุ่ม มีค่าคะแนนความเจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลงไปลด
ก่อน และ หลังเข้�รับก�รฉีดสเปรย์
ลง ทั้ง 3 ครั้งของการทดลอง แต่เมื่อเปรียบเทียบค่า
ข้อมูลคะแนนระดับความเจ็บปวด ก่อนและหลัง คะแนนดังกล่าวของทั้งสองกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมี
ท�าการทดลองของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่ม (ตาราง ค่าคะแนนความเจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลงลดลงมากกว่า
ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยคะแนนความเจ็บปวด ก่อนและหลังทำาการทดลองของผู้เข้าร่วมวิจัยทั้ง 2 กลุ่ม
การศึกษา ระดับความเจ็บปวด
ครั้งที่ กลุ่มทดลอง (n = 30) กลุ่มควบคุม (n = 30)
ก่อน หลัง p-value ก่อน หลัง p-value
1 7.033 (1.3257) 4.667 (1.5388) < 0.001 6.867 (1.2794) 5.800 (1.4716) < 0.001
2 6.133 (1.6132) 3.967 (1.6709) < 0.001 6.500 (1.6135) 5.700 (1.6640) < 0.001
3 5.233 (1.5013) 2.900 (1.3734) < 0.001 6.133 (1.5253) 4.967 (1.6914 < 0.001
ตารางที่ 3 ค่าคะแนนความเจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลง ก่อนและหลังทำาการทดลอง
การศึกษาครั้งที่ ค่าคะแนนความเจ็บปวดที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มทดลอง (n = 30) กลุ่มควบคุม (n = 30)
1 2.366 1.067
2 2.166 0.800
3 2.33 1.166