Page 27 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 27
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 7
ยืดหยุ่น ตลอดจนการใช้ยาหม่องที่มีส่วนผสมของ ต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs)
[3]
[10]
สมุนไพร ทาภายนอก สามารถช่วยลดอาการปวด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผล
[4]
กล้ามเนื้อได้ จากรายงานของส�านักงานหลักประกัน ของสเปรย์กระดูกไก่ด�าต่อการลดปวดกล้ามเนื้อคอ
[5-6]
สุขภาพแห่งชาติ พบว่า ในปี พ.ศ. 2557 สมุนไพรที่น�า บ่า ไหล่ ของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาเป็น
มาใช้ในการรักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อมากที่สุด ยาสมุนไพรแก้ปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นข้อมูลส�าหรับ
[7]
คือไพล การวิจัยในอนาคต
จากรายงานของศูนย์บริการการแพทย์แผนไทย
โรงพยาบาลสตูล พบว่า ในปีงบประมาณ 2560-2562 ระเบียบวิธีศึกษ�
(ข้อมูล 31 สิงหาคม 2562) มีผู้ป่วยเข้ารับการรักษา การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-
อาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ จ�านวน 8,028 ราย, experimental research) แบบสุ่มเปรียบเทียบแบบ
10,202 ราย, 9,155 ราย ตามล�าดับ ในปีงบประมาณ ปกปิดสองด้าน (double-blinded, randomized-
2560 โรงพยาบาลสตูล ได้ยกเลิกครีมไพลออกจาก control trial) เปรียบเทียบประสิทธิผลการใช้สเปรย์
บัญชียาของโรงพยาบาล แต่ผู้ป่วย และแพทย์ยังคง กระดูกไก่ด�าในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาอาการปวด
มีความประสงค์จะใช้ยาทาบรรเทาปวดจากสมุนไพร กล้ามเนื้อ บริเวณ บ่า คอ ไหล่ ที่ศูนย์บริการการแพทย์
ร่วมในการรักษาอาการปวด เพื่อลดอาการไม่พึง แผนไทย โรงพยาบาลสตูล การศึกษาครั้งนี้มีกรอบ
ประสงค์จากการรักษาด้วยยาแผนปัจจุบัน การศึกษา แนวคิดการศึกษา (ภาพที่ 1) และเป็นการศึกษาที่มี
นี้ต้องการน�าต้นกระดูกไก่ด�าซึ่งเป็นพืชที่พบได้ทั่วไป การปกปิด สองฝ่าย (double-blinded) คือ 1. ปกปิด
ในท้องถิ่น ปลูกง่าย ราคาถูกมาใช้ในการรักษาอาการ ผู้เข้าร่วมวิจัย ผู้เข้าร่วมวิจัยจะไม่ทราบว่า ตนได้รับ
ปวดกล้ามเนื้อทดแทนครีมไพล การรักษาด้วยสเปรย์กระดูกไก่ด�าหรือสเปรย์หลอก
การศึกษาประสิทธิผลของสเปรย์กระดูกไก่ 2. ปกปิดผู้ประเมินความตึงกล้ามเนื้อคอ ผู้ประเมิน
ด�าต่อการลดปวดกล้ามเนื้อบริเวณ คอ บ่า ไหล่ ผลจะไม่ทราบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยที่ตนประเมินนั้นอยู่ใน
มีประโยชน์ในการพัฒนาเป็นยาทาภายนอกที่มี กลุ่มใด และได้รับยาชนิดใด โดยผู้วิจัยจะเป็นผู้ฉีด
ประสิทธิผลส�าหรับบรรเทารักษาอาการปวดกล้าม พ่นยาให้แก่ผู้เข้าร่วมวิจัยทุกรายตามกลุ่มที่ได้จาก
เนื้อ ตามความต้องการของแพทย์และผู้ป่วย มีราคา การสุ่มโดยไม่แจ้งข้อมูลของยาที่แต่ละคนได้รับ และ
ถูก สามารถผลิตได้เองจากการทบทวนวรรณกรรม รับผลการประเมินผลจากผู้ประเมินผลมาเก็บรวบรวม
พบว่า กระดูกไก่ด�า หรือเฉียงพร้า มีชื่อวิทยาศาสตร์ เพื่อด�าเนินการต่อไป ระหว่าง วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ว่า Justica gengarussa Burm. ชื่อวงศ์ Acantha- 2563 ถึง วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 โดยทั้งสอง
ceae มีสรรพคุณ แก้ปวด (analgesic activity), ลด กลุ่มมีการรักษาด้วยการกินยากลุ่ม NSAIDs ร่วม
อาการอักเสบ (anti-inflammatory activity) , ลด ด้วยในจ�านวนใกล้เคียงกัน แต่ห้ามรักษาด้วยการนวด
[8]
การอักเสบของข้อ (anti-arthritic) เนื่องด้วยมีสาร ประคบ ฝังเข็ม กายภาพบ�าบัด และการฉีดยาแก้ปวด
[9]
ส�าคัญคือ vitexin และ apigenin ในกลุ่ม flavonoids ก่อนเข้าร่วมวิจัย
สารทั้งสองชนิดนี้ ออกฤทธิ์ผ่านกลไกเดียวกันกับยา การวิจัยครั้งนี้ ผ่านการรับรองด้านจริยธรรมจาก