Page 22 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 22

2   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน  2564




             หอมระเหย สมุนไพรพื้นบ้ำนที่มีผลต่อควำมจ�ำและ  ผลดี ควรน�าไปใช้ประโยชน์โดยการขยายผลให้กว้าง
             อำรมณ์ในนักศึกษำ เป็นผลการศึกษาเบื้องต้น ใน  ขวางต่อไป เรื่องที่หก สถำนกำรณ์กำรครอบครอง
             กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ค�าอธิบายกลไกต่าง ๆ เป็นค�า  กัญชำเพื่อใช้ประโยชน์ทำงกำรแพทย์ในจังหวัด

             อธิบายตามต�าราบางเล่ม ยังไม่มีการศึกษาสารต่าง ๆ   สุรำษฎร์ธำนี เป็นการศึกษาในช่วงแรกของการด�าเนิน
             ที่อยู่ในน�้ามันหอมระเหยจากสมุนไพรแต่ละชนิด รวม  การตามนโยบาย พบว่าการรับรู้ของประชาชนและผู้

             ทั้งการวัดผลเป็นการวัดผลในระยะสั้นเท่านั้น ยังต้อง  ป่วยยังคลาดเคลื่อนและมีความคาดหวังประโยน์ที่ไม่
             ท�าการศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก ก่อนน�าไปขยายผลต่อไป   เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ซึ่งเป็นอันตราย
             เรื่องที่สี่ รูปแบบกำรสั่งใช้ ควำมปลอดภัย และผลต่อ  ต่อผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป ควรมีการแก้ไขป้องกัน

             คุณภำพชีวิตของต�ำรับยำท�ำลำยพระสุเมร เป็นการ  ปัญหา และผู้รับผิดชอบควรมีการศึกษาติดตามเรื่อง
             ศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่ใช้ยาต�ารับนี้  นี้เป็นระยะ ๆ

             ในคลินิกกัญชาทางการแพทย์ โรงพยาบาลการแพทย์      เรื่องที่เจ็ด บทบำทหน้ำที่ของผู้ประกอบวิชำชีพ
             แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน ที่มุ่งใช้ต�ารับยาดัง  กำรแพทย์แผนไทยในมุมมองของทีมสหวิชำชีพ
             กล่าวเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วย จึงมีการปรับขนาดยา  และผู้ประกอบวิชำชีพกำรแพทย์แผนไทย : กรณี

             และมิได้มีการวางแผนในการเก็บข้อมูลอย่างเข้มงวด   ศึกษำโรงพยำบำลชุมชนในจังหวัดพิษณุโลก เป็นการ
             ท�าให้เป็นข้อจ�ากัดส�าคัญของการศึกษาวิจัย อย่างไรก็  ศึกษาที่ยังมีข้อจ�ากัดมาก พบว่า มุมมองของทีมสห-
             ดี ผู้วิจัยมีการวิเคราะห์ วิจารณ์ และสรุปตามหลักวิชา   วิชาชีพกับแพทย์แผนไทย ยังแตกต่างกันทั้งในเรื่อง

             ท�าให้เป็นบทความวิชาการที่ดีพอสมควร         บทบาทการท�างานของแพทย์แผนไทยและการท�างาน
                 เรื่องที่ห้า กำรเปลี่ยนแปลงควำมรู้ ทัศนคติ   ร่วมกัน ทั้ง ๆ ที่ทั้งสองกลุ่มมีการท�างานร่วมกันค่อน
             และกำรปฏิบัติงำนภูมิปัญญำท้องถิ่นด้ำนสุขภำพจำก  ข้างใกล้ชิดและมีเวลาการท�างานร่วมกันยาวนานพอ

             กำรใช้โปรแกรมฝึกอบรมกำรปฏิบัติงำนภูมิปัญญำ  สมควร ควรมีการศึกษาและวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา
             ท้องถิ่นด้ำนสุขภำพในอำสำสมัครสำธำรณสุขประจ�ำ  โดยมุ่งประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก เรื่องที่

             หมู่บ้ำน จังหวัดสุโขทัย เป็นเรื่องตรงไปตรงมาที่หลัง  แปด ภูมิปัญญำพื้นบ้ำนอีสำนในกำรนวดรักษำโรค
             การฝึกอบรมย่อมพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้   ข้อเข่ำเสื่อม เป็นการศึกษาที่น่าสนใจ ควรศึกษาเชิงลึก
             ทัศนคติ และการปฏิบัติดีขึ้นกว่าก่อนการฝึกอบรม สิ่ง  ในหมอนวดพื้นบ้านแต่ละคน รวมทั้งทุกคนที่ยังไม่ได้

             ที่น่าสนใจมี 2 ประการ ประการแรก นโยบายการเพิ่ม  ท�าการศึกษาตลอดจนน�าหมอพื้นบ้านเหล่านี้เชื่อมโยง
             บทบาทหน้าที่ให้แก่ อสม. และเพิ่มค่า “ป่วยการ’’ จาก  เข้าสู่ระบบ โดยเชื่อมโยงหมอพื้นบ้านกับแพทย์แผน-

             เดือนละ 600 บาท เป็นเดือนละ 1,000 บาท มีเงื่อนไข  ไทย และแพทย์แผนปัจจุบัน การเพิ่มศักยภาพหมอ
             ที่ดีคือให้ อสม. “เข้าประชุม และ/หรือ อบรมเพิ่มพูน  พื้นบ้านเหล่านี้ ทั้งด้านความรู้และทักษะ ให้สามารถ
             ความรู้อย่างน้อยหนึ่งครั้งต่อเดือนในเรื่องที่เป็นความ  ช่วยเหลือประชาชนได้มากขึ้น ทั้งเชิงปริมาณและ

             จ�าเป็นตามสภาพปัญหาของชุมชน หรือตามช่วงปฏิทิน  คุณภาพ ให้ประชาชนได้ประโยชน์จากการดูแลรักษา
             การรณรงค์ของกระทรวงสาธารณสุข’’ ประการที่สอง  มากขึ้น ปลอดภัยมากขึ้น และหมอพื้นบ้านเองก็มีการ
             โปรแกรมการฝึกอบรมนี้ พบว่าประเมินผลแล้วได้  พัฒนาอย่างต่อเนื่องด้วย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27