Page 39 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 39

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  19




                       บทนำ�และวัตถุประสงค์               แห้งเข่า คือ ภาวะที่เกิดกับข้อเข่า ด้วยอาการปวด

                   ข้อเข่าเสื่อม (osteoarthritis of the knee)   เข่าเรื้อรัง อาจมีข้อเข่าบวม แดง ร้อน อาการข้อฝืด
              พบเป็นอันดับแรกของโรคข้อเสื่อมทั้งหมด จัดอยู่  ในช่วงเช้าหลังตื่นนอนหรือนั่งนาน ๆ หรือมีเสียงดัง

                                                                         [7]
              ในกลุ่มโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด หรือ  กรอบแกรบในข้อเข่า  ซึ่งอาการดังกล่าวส่งผลกระทบ
                                                                           [8-9]
              แก้ปัญหาได้โดยประเทศใดประเทศหนึ่ง ซึ่งเป็น  ต่อการใช้ชีวิตประจ�าวัน  เช่น การเดิน การขึ้นบันได
              ปัญหาสาธารณสุขที่ทั่วโลกก�าลังเผชิญ และส่งผล   ต้องพึ่งพาผู้อื่น และเป็นภาระแก่ผู้ดูแล ท�าให้ผู้ที่เป็น

              กระทบต่อคุณภาพชีวิต  จากสถิติทั่วโลกในปี 2563 มี   ข้อเข่าเสื่อมต้องด�ารงบทบาทของการเป็นผู้ป่วยตลอด
                               [1]
              ผู้ป่วยกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นจาก 400 ล้านคนเป็น   เวลา ส่งผลเสียต่อจิตใจ อารมณ์ เช่น ท�าให้หมดก�าลัง
              570 ล้านคน โดยเฉพาะโรคข้อเสื่อม (osteoarthri-  ใจ เบื่อหน่าย ท้อแท้ อาจเกิดภาวะซึมเศร้า และส่งผล

              tis) ซึ่งทั่วโลกจะมีผู้ป่วยโรคข้อและเข่าเสื่อม 1,700   กระทบต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลงตามมา รวมทั้งยัง
              และ 2,693 คนต่อประชากร 100,000 คน  ในขณะ    ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ [10]
                                              [2]
              ที่ประเทศไทยพบการรายงานจ�านวนผู้ป่วยนอกกลุ่ม     การรักษาโรคลมจับโปงแห้งเข่าด้วยศาสตร์

              โรคกระดูกและข้อจากสถานบริการสาธารณสุขของ    การแพทย์แผนไทย มีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด
              กระทรวงสาธารณสุขในปี 2558 ประมาณ 22 ล้าน    ประคบสมุนไพร และการอบสมุนไพร ซึ่งพบว่าช่วย

              คน นับเป็น 1 ใน 3 ของประชากรไทย  ซึ่งมีแนวโน้ม  บรรเทาอาการปวด มีประสิทธิผลที่ดี จากผลการ
                                          [3]
              สูงขึ้นเนื่องจากความสัมพันธ์ของการเกิดโรคทาง  วิจัยสมุนไพรเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ใช้ในการบรรเทา
              กระดูกและข้อเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจ�าวัน เช่น การ  อาการปวดของข้อเข่าได้ เช่น การศึกษาถึงประสิทธิผล

              นั่ง การนอน การเดิน การยืน หรือการท�างานเป็นเวลา  ของยาสหัสธาราที่มีฤทธิ์ในการบรรเทาอาการปวดของ
              นาน  และพบว่าข้อเข่าเป็นกลุ่มที่มีภาวะเสื่อมมาก  ข้อเข่าเทียบได้กับยาไดโคลฟีแนค  อีกทั้งยังมีการ
                                                                                    [11]
                 [4]
              ที่สุด เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่มีขนาดใหญ่และต้อง  ศึกษาถึงความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและระดับอาการ
              รับน�้าหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังต้องท�าหน้าที่  ปวดโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยด้วยวิธีการอบ
              เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลาท�าให้เกิดภาวะของข้อ  สมุนไพร พบว่า สามารถลดระดับอาการปวดและเพิ่ม

              เสื่อมได้ง่าย  อีกทั้งยังพบว่า ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิด  ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหลังและขาได้มากกว่าการ
                       [5]
              ข้อเข่าเสื่อมเร็วขึ้น คือ ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลง  อบไอน�้าเพียงอย่างเดียว [12-14]  ซึ่งชี้ให้เห็นว่าการศึกษา
              ได้ เช่น อายุที่เพิ่มมากขึ้น พบมากในเพศหญิงและ  ที่ผ่านมาพบว่าการใช้ยาสมุนไพรและการอบสมุนไพร

              พันธุกรรม  และปัจจัยที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น   โดยผ่านความร้อนมีประสิทธิผลที่ดีในการรักษากลุ่ม
                      [6]
              การบาดเจ็บของข้อเข่า อาชีพที่ต้องใช้ข้อเข่ามาก ๆ การ  อาการปวด อีกทั้งสมุนไพรในลูกประคบ เช่น ไพล
              ใช้งานข้อเข่าผิดวิธีซึ่งท�าให้ข้อเข่าพับ หรืองอมาก ๆ   ขมิ้นชัน การบูร มีฤทธิ์ในการลดอาการปวด แต่ยังไม่

              การนั่งขัดสมาธิ คุกเข่า นั่งยอง ๆ นั่งพับเพียบ ภาวะ  พบการศึกษาถึงประสิทธิผลของการอบสมุนไพรใน
              อ้วน และน�้าหนักตัวมาก                      การรักษาผู้ป่วยกลุ่มโรคลมจับโปงแห้งเข่า

                   อาการของข้อเข่าเสื่อม สามารถเทียบเคียงอาการ     การศึกษานี้จึงมีความสนใจในการใช้ยาสมุนไพร
              กับทางศาสตร์การแพทย์แผนไทยด้วยโรคลมจับโปง   สูตรของลูกประคบโดยวิธีการอบสมุนไพรในกลุ่ม
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44