Page 43 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 43
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 23
ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส ประกอบอาชีพค้าขาย 3. องศ�ก�รเคลื่อนไหว (ROM)
และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี (ตารางที่ 2) องศาการเหยียดเข่า (ข้างซ้าย) เพิ่มขึ้นทั้งสอง
กลุ่มตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-4 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
2. ระดับอ�ก�รปวด (VAS) (ตารางที่ 4)
ระดับความปวดของกลุ่มอบสมุนไพรน้อยกว่า องศาการงอเข่า (ข้างซ้าย) เพิ่มขึ้นทั้งสองกลุ่ม
กลุ่มอบไอน�้าอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-4 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (ตาราง
ในสัปดาห์ที่ 3 และสัปดาห์ที่ 4 (ตารางที่ 3) ที่ 5)
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับอาการปวดระหว่างกลุ่มอบสมุนไพรและกลุ่มอบไอน�้า ก่อนและหลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยระดับความปวด (VAS score)
ก่อนการรักษา สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
กลุ่มอบสมุนไพร
(n = 31) 6.45 ± 0.77 6.35 ± 0.66 5.97 ± 0.55 4.45 ± 1.09 4.10 ± 0.83
กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) 6.41 ± 1.39 6.32 ± 1.33 6.03 ± 1.11 5.39 ± 1.41 5.00 ± 1.03
p-value 0.911 0.878 0.548 < 0.001* < 0.001*
*significant difference from baseline (p < 0.05)
ตารางที่ 4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยองศาการเหยียดเข่า (ข้างซ้าย) ระหว่างกลุ่มอบสมุนไพรและกลุ่มอบไอน�้าก่อนและ
หลังการทดลอง
กลุ่มการรักษา คะแนนเฉลี่ยองศาการเหยียดเข่า (ข้างซ้าย)
ก่อนการรักษา สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
กลุ่มอบสมุนไพร
(n = 31) 11.13 ± 8.34 11.94 ± 8.33 12.42 ± 8.74 13.39 ± 9.43 14.52 ± 10.36
กลุ่มอบไอน�้า
(n = 31) 13.06 ± 10.62 13.87 ± 9.19 14.35 ± 9.64 15.32 ± 10.24 16.45 ± 10.89
p-value 0.440 0.310 0.288 0.288 0.284
*significant difference from baseline (p < 0.05)
องศาการเหยียดเข่า (ข้างขวา) เพิ่มขึ้นทั้งสอง เปรียบเทียบอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001)
กลุ่มตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-4 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-3 และ (p = 0.005) ในสัปดาห์ที่ 4
(ตารางที่ 6) (ตารางที่ 7)
องศาการงอเข่า (ข้างขวา) เพิ่มขึ้นกว่ากลุ่ม