Page 46 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 46

26 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




                 อาการด�าเนินโรค (WOMAC) ด้านระดับความ   ระดับอาการปวดได้ดีกว่าการอบไอน�้าธรรมดา  ซึ่ง
                                                                                            [18]
             สามารถในการใช้งานข้อในกลุ่มอบสมุนไพรน้อยกว่า  มีผลมาจากสมุนไพร เช่น ไพล มีสาร compound D
             กลุ่มอบไอน�้า อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.01)   หรือสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl) but-3-

             และ (p < 0.001) ในสัปดาห์ที่ 3 และสัปดาห์ที่ 4 ตาม  en-2-ol ที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและแก้ปวดในสัตว์
             ล�าดับ (ตารางที่ 10)                        ทดลอง  ขมิ้นชันที่มีสารส�าคัญ curcumin หรือ
                                                               [20]
                                                         diferuloylmethanede-methoxycurcumin และ
                           อภิปร�ยผล                     bisdemethoxycurcumin โดยมีฤทธิ์ยับยั้งการ

                 ผลการศึกษาจากกลุ่มที่ได้รับการอบสมุนไพร  อักเสบ และสามารถลดอาการปวดของข้อได้เทียบ

             มีระดับอาการปวด (VAS) ลดลงกว่าก่อนการทดลอง  เท่ากับยา ibuprofen ตะไคร้ มีสรรพคุณบรรเทา
                                                                         [21]
             และน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการอบไอน�้าที่ไม่มีสมุนไพร  อาการปวดเมื่อยและลดการอักเสบ พบว่า สามารถ

             อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ เนื่องจากผลของ aroma-  ต้านการอักเสบในหนูทดลองที่ถูกเหนี่ยวน�าให้อุ้งเท้า
             therapy จากกลิ่นของสมุนไพรที่ได้รับขณะอบไอน�้า  บวมด้วยการฉีดคาราจีแนน และลดระดับความเจ็บ
             สมุนไพร ซึ่งเป็นผลมาจากสมุนไพรโดยรวม (phy-  ปวดในหนูทดลองที่ถูกเหนี่ยวน�าให้ปวดด้วยวิธี Hot

             totherapy) โดยเป็นการกลั่นร่วมกับการใส่สมุนไพร  plate  อีกทั้งยังพบว่าการบูรสามารถแก้ปวดตาม
                                                             [22]
             ลงในน�้าที่มีความร้อน เซลล์ของสมุนไพรแตกกลิ่น  เส้นประสาท และมีฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยยับยั้งการ
             หอมและถูกไอน�้าร้อนเป็นตัวพากลิ่นเข้าสู่ร่างกาย  เคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว (leukocytemigra-

             ทางการหายใจ เช่น กลิ่นขมิ้นและไพลสามารถกระตุ้น  tion) และต้านการบวม (anti-edematogenic ac-
             ให้ผ่อนคลาย การสูดดมกลิ่มหอมของสมุนไพรจะ    tivity)  ทั้งนี้ในส่วนของความร้อนต่อการลดอาการ
                                                              [23]
             ท�าให้ผู้ที่มีอาการปวดเกิดการผ่อนคลายส่งผลต่อ  ปวดทั้งในการอบสมุนไพรและอบไอน�้าท�าให้ร่างกายมี

             ระบบลิมบิคในด้านอารมณ์ การลดปวดมีการหลั่งสาร   การสูญเสียน�้าทางผิวหนังในรูปแบบของเหงื่อ เกิดการ
             เอ็นดอร์ฟิน เอนเคฟาลีน และซีโรโตนินออกมา ซึ่งมีฤทธิ์   ถ่ายเทความร้อน อุณหภูมิลดลง มีผลท�าให้ร่างกาย

             ยับยั้งการหลั่งสารพี (substance P) บริเวณประสาท  ผ่อนคลาย รวมทั้งความร้อนช่วยให้หลอดเลือดขยาย
             ส่วนปลาย เมื่อสารพี (substance P) ถูกยับยั้งจึง  ตัวเพิ่มการไหลเวียนเลือด ท�าให้ร่างกายมีการล�าเลียง
             ไม่มีสัญญาณความปวดเกิดขึ้น ส่งผลให้อาการปวด  ออกซิเจนและสารอาหารเพิ่มมากขึ้น ช่วยขับของเสีย

             บรรเทาลดลง  อีกทั้งยังสอดคล้องกับการศึกษา   หรือกรดแลคติกออกจากบริเวณที่เป็นสาเหตุของ
                        [18]
             ถึงผลของการนวดเปรียบเทียบกับการนวดด้วย      อาการปวด และความร้อนจะท�าให้เส้นใยคอลลาเจนมี

             aromatherapy ถึงระดับอาการปวดประจ�าเดือนใน  ความยืดหยุ่นมากขึ้น ท�าให้กล้ามเนื้อเกิดการคลายตัว [24]
             นักศึกษาพยาบาล ซึ่งกลุ่มที่ได้รับ aromatherapy   ในขณะเดียวกันการประเมินอาการด�าเนินโรคด้วย
             ร่วมด้วยสามารถลดอาการปวดได้ดีกว่า  และยัง   แบบวัด WOMAC ในตัวแปร 3 ประเด็น พบว่ากลุ่ม
                                            [19]
             สอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมาที่ศึกษาเกี่ยวกับการ  ที่ได้รับการอบสมุนไพรมีระดับความปวด การติดขัด
             อบสมุนไพรเปรียบเทียบกับการอบไอน�้าธรรมดาถึง  ของข้อ และประสิทธิภาพการใช้งานข้อดีขึ้นกว่าก่อน
             ระดับอาการปวด ที่พบว่าการอบสมุนไพรสามารถลด  การทดลอง มีความรุนแรงของโรคน้อยกว่ากลุ่มที่ได้
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51