Page 41 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 41

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  21




              แผนปัจจุบัน                                 ด้วย แบบประเมินระดับอาการปวด คือ visual ana-
                        4) สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการศึกษา  log scale (VAS) แบบประเมินองศาการเคลื่อนไหว
              และมาตรวจรักษาตามที่นัดได้ด้วยตนเอง         คือ range of motion (ROM) โดยใช้อุปกรณ์วัด

                        5) ยินดีเข้าร่วมโครงการด้วยความสมัครใจ  มุม (goniometer) ในการวัด และแบบประเมิน The
                   1.1.2  เกณฑ์การคัดออก (exclusion criteria)  Western Ontario and McMaster Universities

                        1) ผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์และให้  Osteoarthritis Index (WOMAC) ใช้ในการประเมิน
              นมบุตร                                      ติดตามอาการด�าเนินของโรค โดยมีตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
                        2) มีอาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าล�าบาก  3 ประเด็น จ�านวน 15 ข้อ ประกอบด้วย ความเจ็บ

              ที่เกิดจากข้อผิดรูป                         ปวด (pain) การติดขัดของข้อ (stiffness) และ
                        3) เป็นโรคติดต่อต่าง ๆ ได้แก่ วัณโรค  ประสิทธิภาพการท�างานทั่วไป (physical function)

              ระยะแพร่เชื้อ กลาก เกลื้อน หรือโรคผิวหนังในระยะ  โดยประเมินก่อนการทดลอง และหลังการทดลองใน
              ที่อาจติดต่อสู่ผู้อื่นได้โดยการสัมผัส       สัปดาห์ที่ 1–4
                        4) มีประวัติแพ้สมุนไพร แพ้ละอองไอน�้า

              แพ้ความร้อน                                 2. วิธีก�รศึกษ�
                        5) มีประวัติเป็นโรคของระบบหัวใจและ     2.1  ขั้นตอนด�าเนินการ
              หลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเอดส์ ริดสีดวงจมูก โรค        2.1.1 กลุ่มทดลองได้รับการอบสมุนไพร

              ลมชัก โรคหอบหืดในระยะรุนแรง โรคติดเชื้อระบบ  โดยสมุนไพรที่ใช้ คือ สมุนไพรในสูตรลูกประคบ
              ทางเดินหายใจ และระบบผิวหนังที่ร้ายแรงทุกชนิด  (ตารางที่ 1) จ�านวน 31 คน ได้รับการอบสมุนไพร ครั้งละ
                   1.2  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา        30 นาที (อบ 15 นาที พักนอกห้องอบ 5 นาที และเข้า

                   ประเมินประสิทธิผลโดยใช้เครื่องมือ ประกอบ  อบต่ออีก 15 นาที) สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (วันจันทร์ พุธ


              ตารางที่ 1  สมุนไพรที่ใช้ในการอบ [17]

                ล�าดับ   สมุนไพร    น�้าหนัก (กรัม)                  สรรพคุณ

                1    เหง้าไพล (สด)      50       แก้ปวดกล้ามเนื้อ ฟกช�้า บวม แก้เคล็ด ขัด ยอก
                2    ใบมะขาม (สด)       30       ชะล้างสิ่งสกปรก ช่วยให้ผิวหนังต้านทานเชื้อโรค ได้ดียิ่งขึ้น แก้อาการคัน
                                                 ตามร่างกาย
                3    ผิวมะกรูด (สด)     20       แต่งกลิ่นให้หอม ท�าให้ผิวหนังชุ่มชื้น
                4    เหง้าขมิ้นชัน (สด)   10     แก้ลม แก้ปวด แก้ฟกช�้า บวม แก้เคล็ด ขัด ยอก ลดอาการอักเสบ
                5    ตะไคร้ (สด)        10       แต่งกลิ่นให้หอม แก้ปวดเมื่อย
                6    ใบส้มป่อย (สด)     10       แก้อาการคันตามร่างกาย แก้ปวดเมื่อย
                7    เกลือเม็ด       1 (ช้อนโต๊ะ)   ช่วยดูดความร้อนและช่วยพาให้ตัวยาซึม ผ่านผิวหนังได้ดีขึ้น
                8    การบูร          2 (ช้อนโต๊ะ)   แก้เคล็ด ขัด ยอก บวม
                รวม                  175 กรัม
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46