Page 49 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 49

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565       Vol. 20  No. 1  January-April 2022




                                                                                   นิพนธ์ต้นฉบับ




              ประสิทธิผลของการสูดดมน้ำามันหอมระเหยสมุนไพรพื้นบ้านที่มีผลต่อความ
              จำาและอารมณ์ในนักศึกษา



              ธัญญลักษณ์ อุทาทอง , ดุษฎี ศรีธาตุ , พงศธร ทองกระสี , นำาพน พิพัฒน์ไพบูลย์ †
                                            *,‡
                                *
                                                              *
              * สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ตำาบลพังโคน อำาเภอพังโคน
               จังหวัดสกลนคร 47160
              † สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ตำาบลพังโคน อำาเภอพังโคน
               จังหวัดสกลนคร 47160
               ผู้รับผิดชอบบทความ:  dutsadee.si@rmuti.ac.th
              ‡




                                                   บทคัดย่อ


                      สุคนธบ�ำบัดเป็นกำรแพทย์ทำงเลือกที่ใช้ในกำรบ�ำบัดทำงร่ำงกำยและจิตใจ โดยใช้กลิ่นน�้ำมันหอมระเหยจำก
                 ธรรมชำติ เป็นพืชสมุนไพรในท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร กำรศึกษำมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำประสิทธิผลของกำรสูดดม
                 น�้ำมันหอมระเหยสมุนไพรที่มีต่อควำมจ�ำและอำรมณ์ในนักศึกษำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน วิทยำเขต
                 สกลนคร รูปแบบกำรวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่ำง จ�ำนวน 60 คน คัดเลือกแบบเจำะจง จัดกลุ่มด้วยกำรสุ่มอย่ำงง่ำย
                 แบ่งเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะได้รับกำรสูดดมน�้ำมันหอมระเหยกลุ่มละ 1 ชนิด โดยกลุ่มทดลองกลุ่มที่ 1 น�้ำมันหอม
                 ระเหยผักแขยง กลุ่มที่ 2 น�้ำมันหอมระเหยหูเสือ กลุ่มที่ 3 น�้ำมันหอมระเหยโหระพำ และกลุ่มที่ 4 น�้ำมันแก้วเป็น
                 กลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป ประเมินควำมจ�ำด้วย Memory
                 Test และประเมินภำวะทำงอำรมณ์ด้วย Bond-Ladder Questionnaire วิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำ
                 เปรียบเทียบระหว่ำงกลุ่มด้วย Chi-square และ paired sample t-test ผลกำรศึกษำ พบว่ำ 1) ด้ำนควำมจ�ำกลุ่ม
                 ที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมันหอมระเหยผักแขยงก่อนและหลังทดลองแตกต่ำงกัน กลุ่มที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมัน
                 หอมระเหยหูเสือ โหระพำ และน�้ำมันแก้ว  ควำมจ�ำก่อนและหลังกำรทดลองไม่แตกต่ำงกัน (p  < 0.05)  2) ภำวะทำงอำรมณ์
                 กลุ่มที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมันหอมระเหยผักแขยงรู้สึกตื่นตัวและตื่นเต้นเพิ่มขึ้น กลุ่มที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมันหอม
                 ระเหยหูเสือรู้สึกผ่อนคลำยเพิ่มขึ้น กลุ่มที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมันหอมระเหยโหระพำรู้สึกผ่อนคลำย สนใจสิ่งที่ก�ำลัง
                 ท�ำ มองตนเองมีควำมสำมำรถ รู้สึกมีควำมสุข เป็นมิตรกับคนอื่น สนใจสิ่งต่ำง ๆ และอยำกเข้ำสังคมเพิ่มขึ้น และกลุ่ม
                 ที่ได้รับกำรสูดดมน�้ำมันแก้วก่อนและหลังกำรทดลองไม่แตกต่ำงกัน (p < 0.05) จำกกำรศึกษำสำมำรถสรุปได้ว่ำกำร
                 สูดดมน�้ำมันหอมระเหยบำงชนิดสำมำรถกระตุ้นควำมรู้สึกของบุคคลในด้ำนควำมตื่นตัว ควำมผ่อนคลำย สนใจสิ่ง
                 ที่ก�ำลังท�ำ มองตนเองมีควำมสำมำรถ มีควำมสุข เป็นมิตรกับคนอื่น สนใจสิ่งต่ำง ๆ และอยำกเข้ำสังคม ดังนั้นควรมี
                 กำรศึกษำเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนกำรประยุกต์ใช้สมุนไพรท้องถิ่นในกำรดูแลสุขภำพได้
                      ค�ำส�ำคัญ:  กำรสูดดม, น�้ำมันหอมระเหย, สมุนไพรพื้นบ้ำน, ควำมจ�ำ, อำรมณ์





              Received date 25/06/21; Revised date 30/08/21; Accepted date 23/03/22

                                                       29
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54