Page 22 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 22
12 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563
ผู้ป่วยโดยซักประวัติเกี่ยวกับตำาแหน่งและลักษณะ ความปวดผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายระหว่างก่อน
การปวด ความถี่ของอาการปวด เวลาที่ปวด ระยะ และ หลังการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวด
เวลาที่ปวด อาการที่สัมพันธ์กับอาการปวด ปัจจัยที่ บริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทาง
มีอิทธิพลต่ออาการปวด ผลกระทบที่เกิดจากอาการ เวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย
ปวด วิธีการบรรเทาปวดที่ใช้ในปัจจุบันและอดีต รวม ด้านการแพทย์แผนไทยในกลุ่มทดลอง โดยการ
ถึงการตอบสนองต่อการบรรเทาปวด การให้คุณค่าต่อ ทดสอบค่าที (dependent t-test) เปรียบเทียบระดับ
ชีวิต หรือวัตถุประสงค์ในการดำารงชีวิต การประเมิน ความรุนแรงของความปวดในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะ
สภาพผู้ป่วยแล้ววิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวินิจฉัยปัญหาที่ สุดท้ายหลังการบรรเทาปวดระหว่างกลุ่มควบคุม
สัมพันธ์กับอาการปวด และกลุ่มทดลองโดยการทดสอบค่าที (independent
3) ประเมินความปวดโดยใช้มาตรวัด บันทึก t-test) ส่วน ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ป่วย
คะแนนความปวดที่ได้เพื่อใช้เป็นข้อมูลคะแนนความ ต่อการบรรเทาปวดใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน
ปวด ก่อนการพอกตำารับยาห้าราก บรรเทาอาการ มาตรฐาน
ปวดโดยการ พอกตำารับยาห้าราก ขนาด 30 กรัม
้
และ ดินสอพองขนาด 50 กรัม ผสมกับนำาอุ่น ขนาด ผลก�รศึกษ�
100 มิลลิลิตร พอกกว้าง 10 เซนติเมตร และ ยาว 15 การศึกษาผลของการพอกตำารับยาห้ารากต่อ
เซนติเมตร ทิ้งไว้เป็นเวลา 15-25 นาทีหลังจากนั้นเช็ด การบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย
ทำาความสะอาด เช้า–เย็น เป็นระยะเวลา 3 วัน ตาม โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
แผนการรักษา ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
4) รวบรวมคะแนนความปวดก่อนและหลังการ รายละเอียดดังตารางที่ 1 – 3 ดังนี้
บรรเทาปวดที่บันทึกไว้จนครบ 30 ราย การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนปวดก่อนการ
5) ในระหว่างดำาเนินการวิจัยยังมีการปรึกษา บรรเทาปวดของกลุ่มทดลองเทียบก่อนและหลังการ
หารือระหว่างแพทย์แผนไทยที่ผลัดเปลี่ยนกันปฏิบัติ พอกตำารับยาห้ารากต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณ
งานในรอบ 24 ชั่วโมง และระหว่างผู้วิจัยและแพทย์ ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติ
แผนไทยทุกวัน สอบถามความพึงพอใจของกลุ่ม การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการ
ทดลองต่อการการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการ แพทย์แผนไทยมีคะแนนปวดลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ
ปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตาม ทางสถิติระดับ 0.05 และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแล
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะ รักษาปกติไม่มีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังได้
สุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย รับการดูแลตามปกติ สอดคล้องกับสมมติฐานข้อที่ 2
2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ว่าความปวดของผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายกลุ่ม
ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยใช้สถิติการแจกแจง ที่ได้รับการบรรเทาปวดด้วยการพอกตำารับยาห้าราก
ความถี่ ร้อยละ ข้อมูล เกี่ยวกับระดับความปวดใช้ ค่า ต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย
เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบระดับ โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา