Page 24 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 24

14 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 18  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2563




             ตารางที่ 3  ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งต่อการพอกตำารับยาห้าราก
                      ต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
                      ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทยและผลลัพธ์ในการบรรเทาปวด (n = 30)

             รายการ                                     x (คะแนนเต็ม = 4)       ระดับความพึงพอใจ

             การประเมินอาการปวด                            3.87 ± 0.35                มาก
             วิธีการบรรเทาปวด                              3.90 ± 0.31                มาก
             คำาแนะนำาในการจัดการกับความปวด                3.97 ± 0.18                มาก
             ผลลัพธ์ที่เกิดจากการบรรเทาปวด                 3.90 ± 0.31                มาก
             ค่าเฉลี่ยในภาพรวม                             3.91 ± 0.04                มาก



             ใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแล  บริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาเมื่อเปรียบ

             รักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผน  เทียบกับ ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายที่ได้รับการดูแล
             ไทยกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลรักษาปกติ ศึกษาความพึง  รักษาตามปกติ พบว่าความปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้
             พอใจของผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายต่อการพอก  ชายโครงข้างขวาของผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายภาย

             ตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่ง  หลังการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณ
                                                                                  ่
             ตับใต้ชายโครงข้างขวา  เนื่องจากตำารับยาห้าราก  ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตำากว่าก่อนการพอก
             เป็นรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีสรรพคุณ  ตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่ง
             บรรเทาอาการไข้  และเป็นยาที่ใช้สำาหรับดูดพิษ  ตับใต้ชายโครงข้างขวาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่
                          [15]
             ร้อนภายในร่างกายตามหนังสือแนวทางเวชปฏิบัติ  ระดับ 0.05 (ตารางที่ 1) สอดคล้องกับสมมติฐานข้อ

             การดูแลรักษาผู้ป่วยด้านการแพทย์แผนไทยสำาหรับ  ที่ 2 ที่ว่า ความปวดบริเวณใต้ชายโครงการข้างขวาของ
             โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยนำาร่อง  ดังนี้ ความ  ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายกลุ่มที่ได้รับการบรรเทา
                                          [14]
             ปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาของผู้ป่วย  ปวดด้วยการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวด
                                                                                        ่
             มะเร็งตับระยะสุดท้ายภายหลังการพอกตำารับยาห้า  บริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตำากว่ากลุ่ม
             รากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครง  ที่ได้รับการดูแลรักษาตามปกติ เนื่องจากเนื้อหาและ
                    ่
             ข้างขวาตำากว่าก่อนการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทา  ขั้นตอนการบรรเทาปวดด้วยการพอกตำารับยาห้าราก
             อาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวา  บรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครง
             อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.005 (ตารางที่ 1)   ข้างขวาแตกต่างจากการดูแลรักษาปกติ ดังนี้ กลุ่ม

             สอดคล้องกับสมมติฐาน ข้อที่ 1 ที่ว่า ความปวดบริเวณ  ทดลองได้รับการประเมินสภาพและประเมินระดับ
             ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาของผู้ป่วยมะเร็งตับ  ความปวดด้วยมาตรวัดแบบตัวเลข 1-10 ซ.ม. ซึ่งมี
             ระยะสุดท้ายภายหลังการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทา  ประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อการใช้วัดระดับความ

             อาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตำา ่  รุนแรงของอาการปวด  เมื่อแรกรับเข้ารักษาในหอ
                                                                          [16]
             กว่าก่อนการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาอาการปวด  ผู้ป่วยและหลังการบรรเทาปวดทุกครั้งเพื่อเป็นการ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29