Page 25 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 25
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 1 Jan-Apr 2020 15
ประเมินผลการบรรเทาปวดหรือเป็นข้อมูลในการ อาจช่วยลดการเกิดกลุ่มปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย
วางแผนบรรเทาปวดให้ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ เช่น ความปวดและอาการคลื่นไส้อาเจียนของผู้ป่วย
้
รวมทั้ง ประเมินอย่างต่อเนื่องทุก 4 ชั่วโมง เพื่อติดตาม มะเร็ง ขณะที่ในรายที่ประเมินซำาภายหลังการ
[19]
การเปลี่ยนแปลงของความปวดตลอดเวลาที่รักษาอยู่ บรรเทาปวดและพบว่ามีคะแนนความปวดมากกว่า
ในโรงพยาบาล ทำาให้สามารถให้การดูแลช่วยเหลือ หรือเท่ากับ 4 แพทย์แผนไทยผู้ดูแลจะรายงานคณะ
เพื่อบรรเทาอาการปวดได้ทันเวลาส่งผลให้ผู้ป่วยไม่ กรรมการพัฒนาระบบบริการเพื่อพิจารณาปรับ
้
ทนทุกข์ ทรมานต่อความปวด ส่วนกลุ่มควบคุมถึง แผนการดูแลรักษาจากนั้นประเมินอาการปวดซำา
[17]
แม้จะใช้มาตรวัดความปวดชนิดเดียวกัน แต่ในการ หลังได้รับการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทาปวดบริเวณ
ประเมินความปวดภายหลังได้รับการบรรเทาปวดไม่ ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวา เมื่อคะแนนความปวด
ได้กำาหนดเวลา ที่แน่นอนขึ้นอยู่กับแผนการดูแลรักษา น้อยกว่า 4 จึงบรรเทาปวดด้วยการผ่อนคลายพร้อม
ผู้ป่วยแต่ละรายขาดความต่อเนื่องทำาให้ไม่ได้รับการ กับดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ สังคมและคำาแนะนำา
บรรเทาปวดทันที เมื่อมีอาการปวด ผู้ป่วยอาจได้รับ ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลหากหลังปรับแผนการ
[17]
ยาบรรเทาอาการไม่สุขสบายร่วม เช่น ท้องอืด เครียด ดูแลรักษาคะแนนความปวดยังมากกว่าหรือเท่ากับ 4
นอนไม่หลับ เป็นต้น จากนั้นเฝ้าระวังฤทธิ์ข้างเคียง ได้รายงานคณะกรรมการพัฒนาระบบคุณภาพบริการ
้
ของยาที่ได้รับ นอกจากนั้นเมื่อประเมินซำาภายหลัง ด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อพิจารณาปรับแผนการ
[17]
การบรรเทาปวด และพบว่ามีความปวดในระดับน้อย ดูแลรักษาต่อไปจนกว่าคะแนนความปวดน้อยกว่า
ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลให้ได้รับการผ่อนคลายตาม 4 ส่วนกลุ่มควบคุม เมื่อพบว่ามีอาการปวด จึงได้รับ
ความต้องการและความชอบรวมทั้งแนะนำาวิธีปฏิบัติ การบรรเทาอาการปวดโดยการใช้ยาตำารับแผนไทย
สาธิตและทดลองปฏิบัติอย่างถูกต้องก่อนปฏิบัติจริง และสมุนไพรตามความรู้ความชำานาญของแพทย์แผน
เช่น การทำาสมาธิ และการหายใจแบบผ่อนคลาย ซึ่ง ไทยบางรายอาจได้รับการบรรเทาปวดตามระดับความ
เป็นวิธีเบี่ยงเบนความสนใจ จากอาการปวดด้วยการ รุนแรงของอาการปวดร่วมกับการบรรเทาปวดแบบไม่
กำาหนดลมหายใจ ทำาให้รู้สึกผ่อนคลาย การสื่อ ใช้ยาตามแผนการดูแลรักษาแต่ก็ไม่ได้ปฏิบัติอย่าง
[10]
่
สัญญาณประสาทรับความรู้สึกปวด ลดลงเมื่อกล้าม สมำาเสมอ และเป็นวิธีที่แตกต่างไปจากแนวทางเวช
เนื้อคลายตัว เนื่องจากมีการหลั่ง endorphin ซึ่ง ปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย
ช่วยลดระงับการหลั่ง substance-p ที่ กระตุ้นการ ด้านการแพทย์แผนไทย มีการเฝ้าระวังผลข้างเคียง
ส่งสัญญาณปวด การทำาสมาธิสามารถบรรเทาอาการ จากการใช้ยาตำารับแผนไทยและสมุนไพรได้รับการ
ปวด ช่วยให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ผ่อนคลายและนอน บรรเทาปวดเหมือนกลุ่มทดลอง แต่ไม่ได้กำาหนด ราย
หลับได้สบายขึ้น การนวด การแช่เท้า และการพอก ละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน จึงทำาให้ผลลัพธ์
[18]
ตำารับ ซึ่งเป็นวิธียับยั้งการส่งกระแสสัญญาณประสาท ในการบรรเทาปวดไม่ดีเท่ากลุ่มทดลอง กลุ่มทดลอง
ความรู้สึกปวด ของ T- cell เข้าสู่สมอง เกิดการหลั่ง ได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด การช่วยเหลือ
ของ endorphin ทำาให้ความรู้สึกปวดลดลง การ และสัมผัสเพื่อให้กำาลังใจจากแพทย์แผนไทย และ
[10]
นวดช่วยลดระดับความวิตกกังวลได้ในระยะสั้นและ ผู้ดูแลเพื่อบรรเทาความเครียดและ ความวิตกกังวล