Page 20 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 20
10 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย บรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครง
2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ การ ข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วย
พอกตำารับยาห้ารากและแนวทางเวชปฏิบัติการ มะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย มี 2
ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายแบบประคับ ตอน ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ได้แก่ เพศ
ประคองด้วยการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย 1) อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ภูมิลำาเนา และ
การประเมินระดับความปวด 2) การบรรเทาปวด 3) สิทธิในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ประวัติความเจ็บ
การดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณและสังคม 4) การให้ ป่วยในอดีต การวินิจฉัยโรค และระยะของโรค ตอน
คำาแนะนำาผู้ป่วยและผู้ดูแลปรับปรุงจากแนวทางเวช ที่ 2 เป็นความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการพอกตำารับ
ปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยด้านการแพทย์แผนไทย ยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้
สำาหรับโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยนำาร่อง กรม ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก [13] ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และผลลัพธ์ในการบรรเทาปวดบริเวณตำาแหน่งใต้
ประกอบด้วย 1) มาตรวัดระดับความปวด/Visual ชายโครงด้านขวา มีลักษณะเป็น มาตราส่วนประมาณ
analog scale 2) แบบสอบถาม ความพึงพอใจของ ค่า 4 ระดับ
ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายต่อการพอกตำารับยาห้า 2.3 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
รากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย 2.3.1 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผน
ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย ไทย การหาความตรงด้านเนื้อหา (content validity)
ดังนี้ แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะ
2.2.1 มาตราวัดระดับ ใช้แบบประเมิน สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยนี้ได้รับการตรวจสอบ
ระดับอาการปวด ได้แก่ Visual Analog Scale (VAS) เนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำานวน 5 ท่าน ได้แก่ แพทย์
โดยให้ทำาเครื่องหมาย X บนเส้นตรงที่กำาหนดให้ ซึ่งมีประสบการณ์ในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ
ยาว 10 เซนติเมตร ตำาแหน่งปลายสุดด้านซ้ายมือจะ จำานวน 1 ท่าน พยาบาลซึ่งมีประสบการณ์ในการ
ตรงกับไม่มีอาการปวดและเพิ่มมากขึ้นไปทางขวามือ ดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับจำานวน 1 ท่าน เภสัชกร ซึ่งมี
ตำาแหน่งปลายสุดทางขวามือจะตรงกับมีความรู้สึก ประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับจำานวน 1
ปวดมากที่สุด โดยลักษณะการให้คะแนนในแต่ละ ท่าน แพทย์แผนไทย ซึ่งมีประสบการณ์ในการดูแล
ส่วนจะให้คะแนนตามที่วัดได้จากการวัดบนเส้นตรง ผู้ป่วยมะเร็งจำานวน 2 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงด้าน
ที่กลุ่มตัวอย่างทำาเครื่องหมายไว้ แล้วนำาคะแนนที่ได้ เนื้อหาเท่ากับ 0.97 ตรวจสอบความเป็นไปได้ใน
รวมกัน โดยมีคะแนนอยู่ในช่วง 0 - 10 ซึ่งคะแนนยิ่ง ทางปฏิบัติ นำาเสนอ ร่างแนวทางเวชปฏิบัติการดูแล
สูงแสดงถึงบุคคลรับรู้ถึงความรู้สึกปวดนั้นสูง รักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์
2.2.2 แบบสอบถามผู้ป่วยมะเร็งตับ แผนไทย เพื่อเข้ารับการพิจารณาจากคณะกรรมการ
ระยะสุดท้ายต่อการพอกตำารับยาห้ารากต่อการ พัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาล ได้แก่ แพทย์