Page 17 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 17

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 1  Jan-Apr  2020  7




              กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าในปี พ.ศ. 2553 มะเร็ง  จากต่างประเทศและไม่สามารถตอบสนองความ
              เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย  ต้องการของประชาชนในการรักษาโรคเรื้อรังได้
              เช่นกัน  โดยเฉพาะมะเร็งตับ มีอัตราการเกิดมากใน  ครอบคลุมโรคที่ต้องใช้การดูแลรักษาเป็นเวลา
                   [4]
              อันดับที่ 5 ของมะเร็งทุกชนิด มีอัตราการเกิดเพิ่มขึ้น  นาน เช่น โรคมะเร็ง อีกทั้งยังไม่สอดคล้องกับ
                                    [5]
              ในทุก ๆ ปีและมีอัตราการตายมากที่สุดเป็นอันดับ 1   ขนบธรรมเนียม ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับการดูแล

              ของโรคมะเร็งทุกชนิด  ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย  สุขภาพของคนไทย  ซึ่งแตกต่างไปจากวัฒนธรรม
                               [6]
              จะพบการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบต่อสุขภาพ      ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน  ปัจจุบันสถานบริการ
                                                                               [11]
              หลายด้านโดยเฉพาะอาการจากความเจ็บปวดซึ่งอาจ  สาธารณสุขของรัฐมีการบูรณาการผสมผสานกับการ

              มีสาเหตุจากการดำาเนินโรคโดยเซลล์มะเร็งที่แบ่ง  แพทย์แผนปัจจุบัน  รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนา
                                                                         [12]
              ตัวอย่างรวดเร็ว ทำาให้ก้อนมะเร็งขยายขนาด ทำาให้  คุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น โดยมอบนโยบาย

              เบียดดันเยื่อหุ้มของอวัยวะหรืออุดตันภายในอวัยวะ   ส่งเสริมและสนับสนุนให้นำาการแพทย์แผนไทยมาใช้
              หรือกดทับอวัยวะ หรือเกิดเนื้อเยื่ออักเสบ หรือมีการ  ในระบบบริการสาธารณสุข มีบูรณาการการแพทย์
              กดเบียดเส้นเลือดและเส้นประสาท นอกจากนั้นความ  แผนไทย ยาแผนไทย และยาสมุนไพรในการดูแล

              ปวด ยังอาจเกิดจากภาวะแทรกซ้อนของขั้นตอนการ  รักษาผู้ป่วยมะเร็งและส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง
              รักษาก็ได้  อาการปวดตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย   ระยะสุดท้ายแบบประคับประคองด้วยการแพทย์
                     [7]
              ปิตตะกำาเริบ วาตะกำาเริบ ทำาให้รู้สึกร้อนตามผิว รู้สึก  แผนไทย  เพื่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งตับ
                                                                 [13]
                                         ่
              เจ็บ ทำาให้ตาเหลือง เกิดอาการระสำาระสาย  ความ  ระยะสุดท้าย แต่อย่างไรก็ตาม กรมการแพทย์แผน
                                               [8]
              ปวดที่เกิดขึ้นนำามาซึ่งความทุกข์ ทรมาน ไม่สามารถ  ไทยและการแพทย์ทางเลือกได้จัดทำาแนวทางเวช
              มีกิจกรรม พักผ่อนและนอนหลับได้ ขณะที่ความวิตก  ปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยด้านการแพทย์แผนไทย

              กังวลต่อโรคและอาการที่เกิดขึ้นของผู้ป่วยหรือความ  สำาหรับโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยนำาร่องปี พ.ศ.
              กลัวต่อความตายส่งผลกระทบต่อระดับความปวดให้  2559  และโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการ
                                                              [14]
              มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เกิดวงจรสืบเนื่องกันระหว่าง  แพทย์ผสมผสานได้จัดทำาแนวทางเวชปฏิบัติการดูแล
              ความปวด ความวิตกกังวล และความกลัว  ท้าย     รักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์
                                                [9]
              สุดอาจทำาให้ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้า ซึ่งเป็นสาเหตุให้   แผนไทยขึ้นในปี พ.ศ. 2561 เพื่อจัดการกับอาการ

              ผู้ป่วยมะเร็งต้องเสียชีวิตก่อนถึงเวลาอันควร เนื่อง   ปวดในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย โดยเฉพาะการ

              จากภาวะซึมเศร้าทำาให้เซลล์เม็ดเลือดชนิด natural   บรรเทาอาการปวดโดยการพอกตำารับยาห้าราก พบ

              killer cell ซึ่งทำาหน้าที่ทำาลายเซลล์มะเร็งที่เกิดขึ้นใน  ว่า ตำารับยาห้ารากซึ่งเป็นยาตำารับที่มีส่วนประกอบของ
              ร่างกายของผู้ป่วยอ่อนแอลง ทำาให้โรคมะเร็งลุกลาม  สมุนไพร 5 ชนิดมีสรรพคุณบรรเทาอาการไข้ และใช้

                                                                                           [15]
              ได้ง่ายขึ้น [10]                            ในการพอกสำาหรับใช้ดูดพิษร้อนในผู้ป่วยมะเร็งตับที่
                   การแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย มี      มีอาการร้อนและอักเสบของตับ  แม้ว่าจะมีกำาหนด
                                                                                  [14]
              ประสิทธิภาพสูงแต่ต้องใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี  ให้มีการพอกตำารับยาห้ารากบริเวณตำาแหน่งตับใต้
              ทางการแพทย์และเวชภัณฑ์ มีราคาสูงซึ่งต้องนำาเข้า  ชายโครงข้างขวาในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย
                                                                                               [14]
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22