Page 18 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 18
8 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563
แต่ยังไม่มีการศึกษาประสิทธิผล อย่างเป็นรูปธรรม ศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย
ชัดเจน บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ผู้ให้บริการ ต่อการได้รับการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่ง
ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ยังขาดความเชี่ยวชาญในการ ตับใต้ชายโครงข้างขวาด้วยการพอกตำารับยาห้าราก
ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ ตำารับยาแผนไทยมีข้อมูล ตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ
วิชาการเพื่อสนับสนุนผลการรักษาการพอกตำารับยาห้า ระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
รากบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวา ด้วยเหตุนี้
จึงศึกษาประสิทธิผลการพอกตำารับยาห้ารากบรรเทา ระเบียบวิธีก�รศึกษ�
อาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวา
ตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ วัสดุ
ระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานเพื่อใช้ ประชากรเป็นผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายที่
เป็นข้อมูลสนับสนุนการสั่งใช้ยาของบุคลากรทางด้าน เข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลการแพทย์
สาธารณสุข อันจะนำาไปสู่การส่งเสริมและสนับสนุน แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเป็น
การประยุกต์ใช้การแพทย์แผนไทยในระบบสุขภาพ ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายที่ เข้ารับบริการในแผนก
อย่างแพร่หลายต่อไป ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย จำานวน 60
ต่อผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย ได้มีทางเลือกในการ ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำานวน 30 ราย และกลุ่ม
ใช้ยาแผนไทยในการรักษา ลดอันตรายจากการใช้ยา ควบคุมจำานวน 30 ราย
บรรเทาอาการปวดแผนปัจจุบัน และจะเป็นประโยชน์ 2. เกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ากลุ่มตัวอย่าง
ต่อประเทศในการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน รวมถึง 2.1 ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นมะเร็ง
สร้างมูลค่ายาแผนไทยสู่นานาชาติต่อไปในอนาคต ตับระยะสุดท้าย
วัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาประสิทธิผลการ 2.2 ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายทั้งเพศชาย
พอกตำารับยาห้ารากต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณ และ/หรือเพศหญิง ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป
ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติ 2.3 ยินยอมและให้ความร่วมมือในการวิจัย
การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการ กำาหนดให้กลุ่มควบคุมเป็นผู้ป่วยมะเร็งตับ
แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย ระยะสุดท้ายที่เข้ารักษาระหว่าง เดือนมกราคม ถึง
และการแพทย์ผสมผสาน และมีวัตถุประสงค์เฉพาะ เมษายน 2561 จำานวน 30 ราย ศึกษาย้อนหลังจาก
คือ เพื่อเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของความ แฟ้ม ประวัติ ส่วนกลุ่มทดลอง เป็นผู้ป่วยมะเร็ง
ปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาของผู้ป่วย ตับระยะสุดท้าย ที่เข้ารับการรักษาระหว่าง เดือน
มะเร็งตับระยะสุดท้ายกลุ่มที่รับการบรรเทาปวดด้วย พฤษภาคม ถึง สิงหาคม 2561 และมีคุณสมบัติตาม
การพอกตำารับยาห้ารากตามแนวทางเวชปฏิบัติการ เกณฑ์ จำานวน 30 รายในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างสำาหรับ
ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์ ทั้ง 2 กลุ่ม ใช้วิธีจับคู่ (match paired) โดยจัดให้
แผนไทยกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลรักษาปกติ และเพื่อ แต่ละคู่มีความใกล้เคียงในเรื่องตัวแปรแทรกซ้อน เช่น