Page 23 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 23

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 1  Jan-Apr  2020  13




              ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย  ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
              ต่ำากว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลรักษาปกติ (ตารางที่ 1)  และ ผลลัพธ์ในการบรรเทาปวดโดยรวมและในแต่ละ
                   การเปรียบเทียบคะแนนความปวดของกลุ่ม     ด้านในระดับมาก ค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจใน

              ทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย  ภาพรวม เท่ากับ 3.91 (S.D. = 0.04) โดยด้านที่มี
              สำาคัญก่อนเริ่มมีการบรรเทาอาการปวดและเมื่อ  คะแนนสูงสุด คือ คำาแนะนำาในการจัดการกับอาการ

              เปรียบเทียบคะแนนความปวดเมื่อได้รับการพอก    ปวด รองลงมา คือ วิธีการบรรเทาปวดเท่ากับผลลัพธ์ที่
              ตำารับยาห้ารากต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณ    เกิดจากการบรรเทาอาการปวด และการประเมินอาการ
              ตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติ  ปวดตาม ลำาดับ (ตารางที่ 3)

              การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการ
              แพทย์แผนไทยระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม                อภิปร�ยผล

              มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p <      ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ คือ เปรียบเทียบ
              0.05 (ตารางที่ 2)                           ระดับความรุนแรงของความปวดบริเวณตำาแหน่งตับ
                   กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการพอกตำารับ  ใต้ชายโครงข้างขวาในผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย

              ยาห้ารากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย  กลุ่มที่ได้รับการบรรเทาปวดด้วยการพอกตำารับยา
              โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา   ห้ารากต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับ




              ตารางที่ 1  เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดของผู้ป่วยมะเร็งมะตับระยะสุดท้ายก่อนและหลังการบรรเทาอาการ
                       ปวดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (n = 30)

                                ค่าเฉลี่ยก่อนการ    ค่าเฉลี่ยหลังการ       ค่าเฉลี่ย
               กลุ่ม                                                                      p-value
                               บรรเทาอาการปวด      บรรเทาอาการปวด          ผลต่าง

               กลุ่มทดลอง         3.77 ± 1.92        2.27 ± 1.23         1.87 ± 0.32      0.001**
               กลุ่มควบคุม        3.67 ±1.52         3.30 ± 1.29         0.23 ± 0.14       0.109

              ทดสอบด้วย paired t-test โดยเปรียบเทียบก่อนและหลังการรักษา
              **  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p < 0.05




              ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม

                                              กลุ่มทดลอง            กลุ่มควบคุม
               ระยะเวลา                                                                   p-value
                                               (n = 30)              (n = 30)

               ก่อนการบรรเทาปวด               3.77 ± 1.92           3.67 ±1.52            0.742
               หลังการบรรเทาปวด               2.27 ± 1.23          3.30 ± 1.29           0.001**

              ทดสอบด้วย unpaired t-test โดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28