Page 21 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 21
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 1 Jan-Apr 2020 11
แพทย์แผนไทย เภสัชกร และพยาบาล ที่มีส่วนร่วม โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
ในการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายเพื่อรับ ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
ฟังความคิดเห็นในการนำาสู่การปฏิบัติและปรับปรุง กลุ่มทดลองได้รับการดูแลรักษาตามแนวปฏิบัติการ
ความชัดเจนตามข้อเสนอแนะก่อนหาความตรง ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์
ด้านเนื้อหา แล้วทดลองใช้กับผู้ป่วยมะเร็งตับระยะ แผนไทย ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลรักษาตาม
สุดท้าย จำานวน 10 ราย เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ ปกติและเก็บข้อมูลย้อนหลัง รายละเอียด การเก็บ
ของแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาด้านการแพทย์ รวบรวมข้อมูลในกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองดังนี้
แผนไทยและปรับปรุงข้อบกพร่อง ผลการทดลองใช้ กลุ่มควบคุม
พบว่าแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง 1) ประเมินผู้ป่วยเมื่อรับเข้ารักษาในแผนกผู้ป่วย
ตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย สามารถนำา ใน โดยการซักประวัติและตรวจร่างกายทั่วไปรวมทั้ง
สู่การปฏิบัติได้จริงผลจากการประเมินพบว่า คะแนน อาการปวด และขอความยินยอมเข้าร่วมวิจัย
คุณภาพของแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาด้านการ 2) ประเมินระดับความปวดโดยใช้มาตรวัด
แพทย์แผนไทยเท่ากับร้อยละ 98.12 บันทึกคะแนนความปวดที่ได้เพื่อใช้เป็นคะแนนก่อน
2.3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของ การบรรเทาปวด
ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายต่อการพอกตำารับยาห้า 3) บรรเทาอาการปวดโดยการใช้ตำารับยาแผน
รากบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งใต้ชายโครง ไทยและสมุนไพรตามความรู้ความชำานาญของแพทย์
ข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วย แผนไทยเป็นวิธีที่แตกต่างไปจากการพอกตำารับยาห้า
มะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย ความ ราก ตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
ตรงด้านเนื้อหา หาความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรง ตับระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยขึ้นอยู่กับการ
คุณวุฒิ 5 ท่านได้ค่าดัชนีความตรงด้านเนื้อหาเท่ากับ ประเมินของแพทย์แผนไทยผู้ทำาการรักษา
0.95 ความเที่ยงของเครื่องมือ ผู้วิจัยนำาไปทดสอบ 4) ผู้ป่วยได้รับการประเมินระดับความปวดโดย
หาค่าความเชื่อมั่นกับผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายที่ ใช้มาตรวัดระดับความปวดทุก 4 ชั่วโมง หากมีอาการ
มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจำานวน 10 ราย ปวด ดูแลรักษาให้ได้รับการบรรเทาปวดตามแผน
จากนั้นนำาข้อมูลที่ได้ไปคำานวณหาค่าความเชื่อมั่น การรักษาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่รักษาใน
สัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha โรงพยาบาล
coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.87 5) รวบรวมคะแนนความปวดก่อนและหลังการ
2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล บรรเทาปวดที่บันทึกไว้จนครบ 30 ราย
การวิจัยนี้ได้รับการอนุญาตเก็บรวบรวม กลุ่มทดลอง
ข้อมูลจาก ผู้อำานวยการโรงพยาบาลการแพทย์แผน 1) ชี้แจงผู้ป่วยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ไทยและการแพทย์ผสมผสานมีการเตรียมผู้ช่วยวิจัย และลงนามยินยอมเข้าร่วมการวิจัยในแบบพิทักษ์สิทธิ์
รวมทั้งแพทย์แผนไทยผู้ทำาการพอกตำารับยาห้าราก กลุ่มตัวอย่าง
ต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย 2) ประเมินผู้ป่วยเมื่อแรกรับเข้ารักษาในหอ