Page 26 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 26
16 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563
อันเป็นผลจากการเจ็บป่วย เนื่องจากความเครียด การบรรเทาปวด การลดความเจ็บปวดอาจไม่ได้เกิด
ทำาให้เกิดความรู้สึกอ่อนแรง นอนไม่หลับ วิตกกังวล ขึ้น เฉพาะการพอกตำารับยาห้ารากเท่านั้น แต่อาจมา
และกลัวความตาย มีผลให้ความปวดรุนแรง เพิ่มขึ้น จากการทำาสมาธิ การนวด การใช้ยาสมุนไพรอื่น ที่
เกิดวงจรที่เป็นผลสืบเนื่องกันระหว่างความปวด ความ เกิดขึ้นในกระบวนการรักษา การเอาใจใส่อย่างใกล้
วิตกกังวล และความกลัว นอกจากนี้กลุ่มทดลอง ยัง ชิด การช่วยเหลือและสัมผัสเพื่อให้กำาลังใจจากแพทย์
[9]
ได้รับคำาแนะนำาเรื่องสาเหตุและการจัดการเกี่ยวกับ แผนไทยและผู้ดูแลและการให้คำาแนะนำาผู้ป่วยและ
อาการปวดจากแพทย์แผนไทยทำาให้รับทราบข้อมูล ครอบครัวเกี่ยวกับสาเหตุและการจัดการกับอาการ
และมีความรู้เกี่ยวกับอาการปวดที่ตนเองมีอยู่ จากการ ปวด ทำาให้การบรรเทาปวดได้ผลดีดังอภิปรายผล
ดูแลผู้ป่วยตลอด 3 วัน และเปิดโอกาสให้มีการซักถาม เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าการได้รับคำาแนะนำาเกี่ยว
ปัญหาข้อข้องใจอย่างเต็มที่พบว่าผู้ป่วยให้ความร่วม กับสาเหตุและการจัดการกับอาการปวดมีค่าเฉลี่ย
มือเป็นอย่างดี ส่งผลให้คลายความวิตกกังวล สามารถ สูงสุด (x = 3.97) รองลงมาคือวิธีการบรรเทาปวด
ปรับตัวกับอาการปวดและผลกระทบที่เกิดขึ้น การ และผลลัพธ์จากการบรรเทาปวดมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน
[7]
ดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ สังคม และการได้รับคำา (x = 3.90) และการประเมินอาการปวด (x = 3.87)
แนะนำาเรื่องสาเหตุและการจัดการเกี่ยวกับอาการปวด ตามลำาดับ (ตารางที่ 2) พบว่าปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้
เป็นวิธีบรรเทาปวดโดยใช้กลไกการปรับตัว เชื่อ ผู้ป่วยมะเร็งพึงพอใจต่อการจัดการกับอาการปวดคือ
[20]
ว่ามนุษย์สามารถปรับตัวและเผชิญต่อปัญหารวมทั้ง ประสิทธิภาพในการบรรเทาปวดและการตอบสนอง
การเจ็บป่วยได้เมื่อมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับสิ่งแวดล้อม ต่อข้อมูลปวดที่ได้รับ [22]
ดังนั้นเมื่อผู้ป่วยได้รับการดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ อย่างไรก็ตามการทำาวิจัยในครั้งนี้ได้กำาหนดให้
สังคม และคำาแนะนำาจึงทำาให้อาการปวดทุเลาลง ส่วน บรรเทาความปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้าง
กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลรักษาตามปกติไม่ได้รับการ ขวาแก่ผู้ป่วยมะเร็งที่มีความปวดโดยวิธีพอกตำารับยา
ดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ สังคมและคำาแนะนำาเรื่อง ห้ารากไม่ได้ใช้การพอกตำารับยาห้ารากอย่างเดียวแต่มี
่
สาเหตุและการจัดการเกี่ยวกับอาการปวดสมำาเสมอ การให้ยาแผนไทยและยาสมุนไพรร่วมด้วยหากภาย
ทำาให้การบรรเทาปวดไม่ได้ผลเท่ากลุ่มทดลองที่ได้ หลังการบรรเทาปวดประเมินพบว่าความปวดอยู่ใน
พัฒนารูปแบบการให้ความรู้ และคำาแนะนำาสำาหรับ ระดับน้อยจึงให้การบรรเทาปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา เช่น
ผู้ป่วยมะเร็งเพื่อบรรเทาอาการปวดและทดลองใช้ นวด อบ ประคบสมุนไพร
พบว่ากระบวนการปฏิบัติตามรูปแบบที่พัฒนาดัง
กล่าวสามารถใช้ได้จริงและบรรเทาปวดได้ดี กลุ่ม ข้อสรุป
[21]
ทดลองมีความพึงพอใจต่อการพอกตำารับยาห้าราก แพทย์แผนไทยควรใช้การพอกตำารับยาห้าราก
บรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชายโครงข้าง ต่อการบรรเทาอาการปวดบริเวณตำาแหน่งตับใต้ชาย
ขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง โครงข้างขวาตามแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา
ตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทยในระดับมาก ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้ายด้านการแพทย์แผนไทย
(X = 3.91) เนื่องจากได้รับการประเมินอาการปวด ในการบรรเทาปวดแก่ผู้ป่วยมะเร็งตับระยะสุดท้าย