Page 91 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 91

90       คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care)



            กรองเอากากสมุนไพรออก แล้วน�าส่วนของเหลวที่ได้มาเคี่ยวต่อด้วยอุณหภูมิต�่าจนเหลือ 1 ใน 3 ของปริมาตรทั้งหมด
            แล้วน�ามาท�าแห้งส่วนของของเหลวที่ได้ด้วยวิธีท�าแห้งแบบเยือกแข็ง (freeze dry) น�าสารสกัดมาทดสอบฤทธิ์
            ต้านเซลล์มะเร็ง 5 ชนิด
                    ผลการศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสมุนไพรเดี่ยวและต�ารับยา

            เบญจอ�ามฤตทั้งชั้นน�้าและชั้นเอทานอล95% พบว่าต�ารับยาเบญจอ�ามฤต มีค่าปริมาณความชื้นสูงกว่ามาตรฐาน
            เพราะมีดีเกลือเป็นส่วนประกอบประมาณ 1 ใน 3 ส่วนของต�ารับ ส่วนปริมาณเถ้าทั้งหมดและเถ้าที่ไม่ละลายในกรด
            ซึ่งแสดงการปนเปื้อนของวัตถุดิบ พบว่าดีเกลือมีปริมาณเถ้าทั้งหมดและเถ้าที่ไม่ละลายในกรดสูงที่สุด คือ 54.796%
            และ 3.724% ตามล�าดับ การทดสอบปริมาณสารสกัดด้วยตัวท�าละลาย พบว่ายาด�า(ยางของว่านหางจระเข้)
            ให้ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอลสูงสุด คือ 100% เพราะยาด�าละลายหมดในเอทานอล95% และดีเกลือให้ปริมาณ
            สารสกัดการสกัดด้วยน�้าสูงที่สุด คือ 75.62% ส่วนสมุนไพรต�ารับยาเบญจอ�ามฤตมีปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล
            และน�้า คือ 15.25% และ 49.60% ตามล�าดับ การวิเคราะห์การปนเปื้อนโลหะหนักของวัตถุดิบสมุนไพรทั้ง 9 ชนิด
            ไม่พบว่ามีสมุนไพรชนิดใดที่มีปริมาณโลหะเกินมาตรฐานที่ก�าหนด  และการวิเคราะห์ปริมาณสารส�าคัญด้วย
            แก๊สโครมาโตรกราฟี พบว่าสารที่มีปริมาณสูงสุด คือ สาร Androsterene และเมื่อน�าสารสกัดชั้นเอทานอล 95%

            มาทดสอบความคงตัวแล้วน�ามาวิเคราะห์ปริมาณองค์ประกอบที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่าสาร Androsterene นั้นไม่ได้
            ลดลง แต่กลับมีปริมาณเพิ่มขึ้นต่างกับสารอื่นๆ ที่มีการลดลง หรือเกิดสารใหม่ขึ้นในเวลาถัดมา แต่อย่างไรก็ตามเมื่อ
            ทดสอบฤทธิ์ต้านมะเร็งตับพบว่าฤทธิ์ต้านมะเร็งยังคงเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเก็บในสภาวะเร่ง และสารสกัด
            สามารถเก็บได้นานเกินสองปี
                    ผลการศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งด้วยวิธี SRB Assay ส�าหรับเซลล์มะเร็งตับ (HepG2)
            เซลล์มะเร็งล�าไส้ (LS-174T) เซลล์มะเร็งปอด (COR-L23) เซลล์มะเร็งปากมดลูก (Hela) เซลล์มะเร็งต่อมลูกหมาก
            (PC3) โดยเปรียบเทียบกับเซลล์ปกติของปอด (MRC-5) พบว่าไม่มีสารสกัดชั้นน�้าตัวใดที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อ

            เซลล์มะเร็ง  สารสกัดชั้นเอทธานอลที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งตับ  (HepG2)  ดีที่สุด  3  ล�าดับแรก
            คือ สารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต สารสกัดรงทอง และสารสกัดสารสกัดทนดี ซึ่งมีค่า IC  เท่ากับ 0.22, 0.62
                                                                                          50
            และ 3.03  g/ml ตามล�าดับ ผลของสารสกัดที่มีต่อเซลล์มะเร็งล�าไส้ (LS-174T) ดีที่สุด 3 ล�าดับแรก คือ
            สารสกัดรงทอง สารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต และสารสกัดพริกไทยด�า ซึ่งมีค่า IC  เท่ากับ 0.24, 4.95 และ
                                                                                    50
            5.67  g/ml ตามล�าดับ สารสกัดที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปอด (COR-L23) ดีที่สุด 3 ล�าดับแรก
            คือ สารสกัดรงทอง ต�ารับยาเบญจอ�ามฤตและสารสกัดทนดี มีค่า IC  เท่ากับ 0.11, 2.13 และ 16.09  g/ml
                                                                        50
            ตามล�าดับ สารสกัดที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งปากมดลูก (Hela) ดีที่สุด 3 ล�าดับแรก คือ สารสกัดรงทอง
            สารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต  และสารสกัดขิง  ซึ่งมีค่า  IC   เท่ากับ  0.52,  5.22  และ  28.21    g/ml
                                                                    50
            ตามล�าดับ และสารสกัดที่มีฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมาก (PC3) ดีที่สุด 3 ล�าดับแรก คือ สารสกัด

            รงทอง  สารสกัดพริกไทยด�า  และสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต  ซึ่งมีค่า  IC   เท่ากับ  0.73,  4.52  และ
                                                                                  50
            4.59    g/ml  ตามล�าดับ  ซึ่งจากผลการทดสอบกับเซลล์มะเร็ง  จะสังเกตได้ว่ารงทองมีฤทธิ์ในการยับยั้ง
            ความเป็นพิษของเซลล์มะเร็งได้ดีที่สุดในเกือบทุกเซลล์มะเร็ง  รองลงมา  คือ  สารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต
            ชั้นเอทานอล 95% ซึ่งใช้ปริมาณสารสกัดน้อยมาก เมื่อน�ามาทดสอบกับเซลล์ปอดปกติ พบว่าก็มีเพียงรงทอง
            และสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตชั้นแอลกอฮอล์ 95% เท่านั้น ที่มีความเป็นพิษกับเซลล์ปกติ คือ มีค่า IC
                                                                                                           50
            เท่ากับ <1 และ 5.95  g/ml ตามล�าดับ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเปรียบเทียบค่า Selective index หรือความต่าง
            ของค่า IC  ของเซลล์ปอดปกติกับเซลล์มะเร็งตับพบว่าค่าความต่างของเซลล์มะเร็งกับเซลล์ปกติ ของต�ารับ
                      50
            ยาเบญจอมฤตโดยดูจากค่าของ IC  เป็น 27 เท่า (5.95/0.22) แสดงว่าเบญจอมฤตมีความเป็นพิษต่อเซลล์
                                           50
            มะเร็งตับมากกว่าเซลล์ปกติ 27 เท่า แสดงว่ายาเบญจอ�ามฤตมีความจ�าเพาะกับมะเร็งตับมากที่สุดซึ่งความรู้นี้
            สามารถสนับสนุนการใช้รักษามะเร็งตับของหมอแผนไทย ดังนั้นจึงได้น�ามาท�าเป็นยาเม็ด พบว่ายาเม็ดมีความคงตัว
            ทั้งฤทธิ์ต้านมะเร็งและสาระส�าคัญ
                    นอกจากนี้ยังได้ศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเดี่ยวและสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤตทั้งชั้นน�้า
            และชั้นเอทานอล 95% ด้วยวิธีทางเคมี คือ DPPH assay เมื่อเปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน BHT ที่มีค่า EC
                                                                                                           50
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96