Page 90 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 90
ภาคผนวก 89
ที่บันทึกไว้ในหนังสือ คือสามารถรักษาอาการที่เกิดจากการผิดปกติของธาตุทั้ง 4 (ดิน น�้า ลม และไฟ) รักษาอาการ
ที่ท�าให้ผู้ป่วยมีอาการหอบและไอเป็นประจ�า บริโภคอาหารไม่ได้ หายใจไม่ทั่วท้อง เป็นฝีในตับ และถ่ายเป็นเลือดสด
ซึ่งหมอรักษาได้ยาก (แพทยศาสตร์สงเคราะห์, 2505) เทียบเคียงกับการแพทย์แผนปัจจุบันอาการที่ระบุนี้เรียกได้ว่า
เป็นมะเร็งตับ
สูตรต�ารับยาเบญจอ�ามฤต สรรพคุณ และวิธีการใช้ (คัมภีร์แพทยศาสตร์สงเคราะห์, 2504)
ส่วนประกอบตัวยา/วิธีปรุง มหาหิงคุ์ 1 ยาด�าบริสุทธิ์ 1 เอาสิ่งละ 1 สลึง รงทอง 2 สลึง มะกรูด 3 ผล
(เอามหาหิงคุ์ ยาด�า รงทอง ใส่ในมะกรูดสิ่งละผล แล้วเอามูลโคพอกสุมไฟ
แกลบให้สุก) ขิงแห้ง 1 ดีปลี 1 พริกไทยด�า 1 เอาสิ่งละ 1 สลึง รากทนดี 1 บาท
ดีเกลือ 4 บาท ยา 5 สิ่งนี้ผสมกับมะกรูดที่สุมไว้
หมายเหตุ ผู้ทรงคุณวุฒิให้ความเห็นว่ายานี้ควรพัฒนาเป็นยาแคปซูล (เบอร์ 1) โดยใช้
ผิวมะกรูดและน�้า มะกรูด 3 ลูก ผสมกับน�้ามะขามเปียก คลุกเคล้ากับตัวยา
แล้วท�าให้แห้ง บดเป็นผงใส่แคปซูล
รูปแบบ/ความแรง แคปซูล 300 มิลลิกรัม
วิธีใช้ ละลายน�้าส้มมะขามเปียกรับประทาน
สรรพคุณ แก้มะเร็ง
เมื่อวิเคราะห์ต�ารับยาและส่วนประกอบของตัวยาในต�ารับและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องยาต�ารับนี้น่าจะเป็นต�ารับยา
ล้างพิษ เพราะพืชที่อยู่ในต�ารับเช่นยาด�า ซึ่งมีสารกลุ่ม anthraquinone ที่ออกฤทธิ์กระตุ้นท�าให้ล�าไส้บีบตัว และรงทอง
เป็นยาที่ได้จากต้นรงทอง ที่พืชสกุลเดียวกับมังคุด ยางมีสาร Gamboic acid ที่มีฤทธิ์กระตุ้นการขับถ่าย ส่วนดีเกลือไทย
ที่ใช้คือ Sodium Sulfate มีฤทธิ์เป็นยาถ่ายเช่นกัน นอกจากนี้ ยังมีพืชที่มีรสร้อนที่มีน�ามันหอมระเหย คือ ตรีกฎุก
(พริกไทย ขิง ดีปลี) ผิวมะกรูด มหาหิงคุ์ สมุนไพรเหล่านี้มีน�้ามันหอมระเหยจะลดผลข้างเคียงที่เกิดจากการไซร้ท้อง
ของยาในกลุ่ม anthraquinone สรุปจากการวิเคราะห์ต�ารับแบบที่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ยาต�ารับนี้สามารถล้างพิษ
คือท�าให้ถ่าย ดังนั้นต�ารับนี้ก็จะมีข้อห้ามใช้เหมือนกับการใช้ยาที่ได้จากใบมะขามแขก หรือเป็นยาแผนปัจจุบันใช้
®
ชื่อว่า Sennokot จะมีข้อห้ามคือห้ามใช้ในเด็ก สตรีมีครรภ์ เพราะโอกาสท�าให้แท้งได้ หญิงมีประจ�าเดือน เพราะ
จะท�าให้กล้ามเนื้อเรียบบีบตัว หญิงให้นมบุตร เพราะสาร anthraquinone จะสามารถผ่านทางน�้านมได้ ใช้เป็นระยะ
เวลานานจะท�าให้มีผลกับไตได้ แต่อย่างไรก็ตามโรงพยาบาลอู่ทองได้น�าต�ารับยานี้มาใช้กับผู้ป่วยมะเร็งและได้ผลดี
ซึ่งอาจเป็นเพราะ ยาต�ารับนี้สามารถขับถ่ายของเสียที่อาจคั่งค้างอยู่ ซึ่งจะเป็นผลดีกับคนไข้มะเร็งแต่อย่างไรก็ตาม
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์โดยการทดสอบตามหลักสากลเท่านั้นจึงจะพิสูจน์ให้ทราบว่ามีผลต่อมะเร็งหรือไม่ ทางสถาบัน
การแพทย์แผนไทยจึงให้คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิจัยยาในต�ารับนี้
จากสรรพคุณของต�ารับยาเบญจอ�ามฤตที่ใช้รักษาฝีในตับ และระบุว่ารักษามะเร็งได้ ทางผู้วิจัยจึงได้น�าต�ารับยา
มาท�าเป็นสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต แล้วมาศึกษาตามหลักสากลที่เป็นการวิจัยยาทั่งไป โดยการศึกษาถึงฤทธิ์
ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งตามวิธี SRB assay ซึ่งเป็นวิธีการทดสอบที่เป็นสากลที่ NCI ของประเทศอเมริกายอมรับ
และเป็นหลักสากล โดยศึกษาในเซลล์มะเร็งทั้งหมด 5 ชนิด คือ มะเร็งตับ มะเร็งล�าไส้ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก
และมะเร็งต่อมลูกหมาก รวมทั้งได้ศึกษาการควบคุมคุณภาพและความคงตัวของต�ารับยาเบญจอ�ามฤต ตามหลัก
เภสัชเวทอีกด้วย
ขอบเขตการวิจัย ตามโครงการที่ได้รับทุน เพื่อพัฒนาสารสกัดต�ารับยาเบญจอ�ามฤต มีขั้นตอนตั้งแต่การ
ควบคุมคุณภาพมาตรฐานของวัตถุดิบสมุนไพรที่ใช้ในการเตรียมต�ารับยาเบญจอ�ามฤตเช่นการหาปริมาณเถ้า ปริมาณ
เถ้าที่ไม่ละลายในกรด ปริมาณสารสกัด และปริมาณความชื้นในสมุนไพรแต่ละชนิด การหาปริมาณโลหะหนัก
การปนเปื้อนของเชื้อ เป็นต้น หลังจากนั้นน�าวัตถุดิบที่ผ่านมาตรฐานแล้วมารวมเป็นต�ารับ และท�าการสกัดด้วยการ
หมักแอลกอฮอล เป็นเวลา 3 วัน กรอง น�าสารสกัดที่ได้มาระเหยเอาแอลกอฮอลออกหมด ชั่งน�้าหนักและคิดร้อยละ
ของผลผลิตที่ได้ เป็นสารสกัดชั้นเอทานอล 95% ส่วนสารสกัดชั้นน�้า จะน�าต�ารับเบญจอ�ามฤตมาต้มน�้าให้เดือด