Page 92 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 92
ภาคผนวก 91
เท่ากับ 16.737 g/ml พบว่าสารสกัดที่มีฤทธิ์ดีกว่าสารมาตรฐาน คือ ยาด�า และขิงแห้งชั้นเอทานอล 95% มีค่า
EC เท่ากับ 8.934 และ 16.299 g/ml ตามล�าดับ แต่สารสกัดเบญจอ�ามฤตทั้งชั้นน�้าและชั้นเอทธานอล
50
มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระน้อยมากคือมีค่า EC มากกว่า 50 g/ml
50
การศึกษาทางพิษเรื้อรังของ ภญ ปราณี ชวลิตธ�ารง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผลการทดสอบพิษเฉียบพลัน
โดยป้อนสารสกัดต�ารับเบญจอ�ามฤตให้หนูถีบจักรทางปาก ในขนาด 2, 3 และ 4.5 ก./กก. พบว่า ท�าให้หนูมีอาการ
พิษเฉียบพลันและขนาดของสารสกัดที่ท�าให้หนูตายร้อยละ 50 (LD50) มีค่าเท่ากับ 3.55 ก./กก. ซึ่งสูงกว่าขนาด
สารสกัดที่จะใช้ในคนประมาณ 700 เท่า ผลการศึกษาพิษเรื้อรังโดยให้สารสกัดทางปากแก่หนูแรทที่ขนาด 5, 50,
250 และ 500 มก./กก./วัน เป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่าหนูเพศผู้กลุ่มที่ได้รับสารสกัด 250 และ 500 มก./กก./วัน
มีการเจริญเติบโตช้ากว่ากลุ่มควบคุม กลุ่มที่ได้รับสารสกัด 500 มก./กก. มีเม็ดเลือดขาวนิวโตรฟิลและเกล็ดเลือด
สูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญแต่มีแนวโน้มลดลงเมื่อหยุดให้สารสกัด หนูที่ได้รับสารสกัดทุกกลุ่มมีระดับกลูโคสลดลง
อย่างมีนัยส�าคัญ กลุ่มที่ได้รับสารสกัด 250 และ 500 มก./กก. มีการลดลงของไขมันไตรกลีเซอไรด์และโคเลสเตอรอล
อย่างมีนัยส�าคัญกลุ่มที่ได้รับสารสกัด 500 มก./กก.มีระดับเอนไซม์ ALT และ AST สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง
มีนัยส�าคัญ แต่การเพิ่มขึ้นของเอนไซม์ ALT และ AST รวมทั้ง AST ที่ยังคงมีระดับสูงภายหลังหยุดให้สารสกัด
เป็นเวลา 2 สัปดาห์ช่วยบ่งชี้ว่า การรับประทานสารสกัดเป็นเวลานานติดต่อกันอาจมีผลต่อตับ ระดับโปแตสเซียม
ที่ลดลงในหนูเพศผู้และเพศเมียที่ได้รับสารสกัดขนาดต่างๆ ยังคงอยู่ในช่วงค่าปกติ ถึงแม้ว่าผลการตรวจอวัยวะทาง
จุลพยาธิวิทยาแสดงให้เห็นว่า สารสกัดขนาดต่างๆไม่ก่อให้เกิดรอยโรคทางจุลพยาธิวิทยาต่ออวัยวะภายในของ
สัตว์ทดลองเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาความเป็นพิษนี้แสดงให้เห็นว่าสารสกัดต�ารับยาเบญจอมฤต
ในขนาดที่รักษาคือ 50 mg/kg ไม่มีความเป็นพิษ และผิดปกติต่ออวัยวะใดๆ ถึงแม้ขนาดสูงถึง 10 เท่าคือ 500 mg/kg
ก็มีผลน้อยและเมื่อหยุดยาก็สามารถกลับมาเหมือนเดิมได้
สรุปได้ว่าสารสกัดต�ารับยาเบญจอมฤตมีความปลอดภัยสูงและมีผลต่อเซลล์มะเร็งตับดีมาก และมีความเป็นพิษ
ต่อเซลล์ปกติน้อยกว่ามะเร็งตับถึง 27 เท่านับว่าเป็นผลดี และใช้นานในขนาดที่รักษาไม่มีพิษต่อตับและไต เมื่อใช้กับ
ผู้ป่วย พบว่ามีอัตรารอดชีวิตมากว่า หนึ่งปี และก้อนเนื้อไม่ติบโตมากขึ้น ถือได้ว่าเป็น stable diseases
สรุป
ผลการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในหลอดทดลองและในสัตว์ทดลองของต�ารับยามะเร็งดังกล่าวข้างต้นที่ใช้
ในผู้ป่วยมะเร็ง เป็นการพิสูจน์และยืนยันองค์ความรู้ในการใช้สมุนไพรรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่งใช้ความรู้ของแพทย์แผนไทย
ที่สั่งสมมาเป็นเวลานานในการรักษาผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดเป็นผลงานวิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยมะเร็งโดยตรง และ
ในภาพรวมของประเทศ และ ในส่วนต�ารับเบญจอมฤตเป็นการพิสูจน์ภูมิปัญญาที่ระบุในต�าราแพทยศาสตร์สงเคราะห์
นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาการศึกษาวิจัยต�ารับยาแผนไทย เป็นการประกาศประชาสัมพันธ์ให้คนไทยมีความมั่นใจ
ในต�ารับยาแผนไทย หันกลับมาใช้ยาไทยมากขึ้น และยังเป็นการลดการขาดดุลทางการค้าจากการน�าเข้ายาจาก
ต่างประเทศที่มีราคาแพง
4. อาหารต้านมะเร็ง
แนวคิดการใช้อาหารต้านมะเร็งแบ่งเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนแรกคืออาหารที่ใช้ป้องกันมะเร็ง (Waldron
et al., 1993) หมายถึง อาหารที่ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการก่อกลายพันธุ์ของเซลล์ปกติที่กลายเป็นมะเร็ง
ต้านการเกิดสารก่อมะเร็ง ส่วนที่สองคืออาหารที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็งโดยตรง
อาหารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ เพราะสารต้านอนุมูลอิสระยังช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและท�าให้ โรคที่เป็น
อยู่ไม่ก�าเริบหนักขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะสาเหตุที่ท�าให้เกิดมะเร็งบางอย่างสามารถท�าให้ร่างกายสร้างอนุมูลอิสระขึ้น และ
อนุมูลอิสระมากไปก็ท�าให้เกิดกลายเป็นมะเร็งได้ เช่น การสัมผัสรังสี แสงแดด เอกซเรย์ ควันบุหรี่ อาหารประเภท
ไขมันสูง วิธีการประกอบอาหารไขมันในอุณหภูมิสูง เช่นการทอดน�้ามันจะเกิดอนุมูลอิสระจ�านวนมากมาย หรือการ
รับประทานอาหารที่นิยมใส่เกลือไนเตรต ซึ่งใช้เป็นสารกันเสีย สารท�าให้เกิดสี เช่น แหนม ปลาร้า กะปิ กุนเชียง
เบคอน แฮม เกลือไนเตรทเหล่านี้จะก่อให้เกิดสารที่คงตัวในรูปเอมีน เป็นไนไตรซามีน หรือสารกลุ่มเอไมด์ (amide)
เป็น Nitrosamine ซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดมะเร็งได้ (Gray, 1981, Hecht et al., 1983) ดังนั้นสารต้านอนุมูลอิสระ