Page 88 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 88
ภาคผนวก 87
ค่า IC ต่อเซลล์มะเร็งทั้ง 3 ชนิด น้อยกว่า 10 g/mL ผลงานวิจัยที่ได้ด�าเนินการเป็นการพิสูจน์และยืนยัน
50
ในองค์ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาของพระอาจารย์ปพนพัชร์ ซึ่งใช้ต�ารับยาน�้าสาบานรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับและ
มะเร็งท่อน�้าดีได้เป็นอย่างดี จากผลการศึกษาข้างต้น อโรคยศาลวัดค�าประมง ได้ด�าเนินการจดอนุสิทธิบัตร
สูตรต�ารับยาน�้าสาบาน เพื่อเป็นการคุ้มครองและเผยแพร่ภูมิปัญญาและองค์ความรู้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งของ
พระอาจารย์ปพนพัชร์ จิรธัมโม และเพื่อให้ความร่วมมือในการวิจัยกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ซึ่งได้ด�าเนินการวิจัยอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาต่อยอดเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็ง ขณะนี้
คณะนักวิจัยก�าลังด�าเนินการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ
ต�ารับยาน�้าสาบาน รวมถึงการพัฒนาวิธีการควบคุมคุณภาพทางเคมีเพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพการผลิตต�ารับยา
น�้าสาบานแคปซูลซึ่งคณะวิจัยได้พัฒนาขึ้น และมีเป้าหมายที่จะต่อยอดงานวิจัยในมนุษย์ต่อไป
นอกจากยาทั้งสามต�ารับนี้ ทางคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังได้ท�าการวิจัยยาแผนไทย
ที่ใช้ในอโรคยศาลวัดค�าประมง แต่เป็นต�ารับทั่วไปที่ใช้ในการปรับธาตุในผู้ป่วยมะเร็ง อาทิเช่น
- ต�ารับยาเบญจกูล ในผู้ป่วยมะเร็งปอด ซึ่งผลการวิจัยพบว่า สามารถลดการเกิดเนื้องอกและยับยั้งมะเร็งปอด
โดยไม่ท�าลายเซลล์ปกติ นอกจากนี้ ต�ารับยานี้ยังมีผลการศึกษาในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและลดอาการปวด การอักเสบ
ได้อีกด้วย
- ต�ารับยาตรีผลา เพิ่มภูมิต้านทานในผู้ป่วยมะเร็ง ต�ารับนี้ช่วยเพิ่มการขับถ่ายให้กับผู้ป่วยมะเร็ง
- ต�ารับยาหัวข้าวเย็นที่ใช้ในผู้ป่วยมะเร็งทั่วไปและเป็นยาหลักในต�ารับยายอดมะเร็ง ต�ารับยานี้เป็นต�ารับ
ที่ใช้ยาจากหัวข้าวเย็นสองชนิด แต่ละชนิดมีฤทธิ์เสริมกันแต่ภาพรวมของต�ารับลดการเกิดเนื้องอกในหนูได้
- ยาเม็ดกระเจี๊ยบแดง ที่ใช้ในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งตับได้ เป็นต้น
ข้อมูลต�ารับยาที่ใช้ทั้งหมดทางศูนย์ความเป็นเลิศในการวิจัยแพทย์แผนไทยประยุกต์ ได้ด�าเนินการวิจัย
ให้เห็นเป็นที่ประจักษ์และเป็นการสนับสนุนในการใช้รักษามะเร็งของอโรคยศาลวัดค�าประมงด้วย โดยมีตัวอย่าง
ผลการวิจัยที่ครบวงจรและสามารถเป็นข้อมูลสนับสนุนการใช้ของวัดค�าประมง ดังนี้
1) การวิจัยยาต�ารับยาเบญจกูล เพื่อผู้ป่วยมะเร็ง ได้รับทุนสนับสนุนจากทุนงบประมาณแผ่นดิน ตั้งแต่
ปี 2552 ถึง ปี 2553 และทุนวิจัยมุ่งเป้าของมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ส�านักคณะกรรมการอุดมศึกษา ภายใต้การน�าของ
รศ.ดร.ภญ.อรุณพร อิฐรัตน์ และคณะ จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต�ารับเบญจกูลประกอบด้วย
พืช 5 ชนิดน�ามารวมเป็นต�ารับ ได้แก่ สมุนไพรที่เป็นอาหาร 4 ชนิด คือ ผลดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน และเหง้าขิง
และสมุนไพรอีกชนิดคือ รากเจตมูลเพลิงแดง ทางแพทย์แผนไทยใช้ต�ารับยาเบญจกูลนี้เป็นยาปรับธาตุ ในช่วงรอยต่อ
ของฤดู ใช้เป็นยาผสมในต�ารับยาสตรี และเป็นต�ารับยาไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติในการรักษาโรคท้องอืด ท้องเฟ้อ
ธาตุไม่ปกติ นอกจากนี้หมอพื้นบ้านทางภาคใต้นิยมใช้เบญจกูลเป็นยาปรับธาตุให้กับผู้ป่วยมะเร็งก่อนจะท�าการรักษา
และต�ารับยามะเร็งปอดของอโรคยศาลวัดค�าประมง จังหวัดสกลนคร ยังใช้ต�ารับยาเบญจกูลเป็นยารักษามะเร็งปอด
อีกด้วย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้มีการน�าต�ารับเบญจกูลมาท�าการศึกษาฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งและฤทธิ์ทางชีวภาพ
ที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง และฤทธิ์ต่อสุขภาพ เช่น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ฤทธิ์ต้านเชื้อ เป็นต้น
จากการวิจัยพบว่า สารสกัดเบญจกูลมีฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็งในระดับหลอดทดลองโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สามารถ
ยับยั้งเซลล์มะเร็งปอดและมะเร็งเต้านมได้ดีซึ่งสอดคล้องกับการน�าต�ารับเบญจกูลมาใช้รักษามะเร็งปอดของอโรคยศาล
วัดค�าประมง และยังสามารถยับยั้งก้อนเนื้องอกในหนูทดลองได้ดีอีกด้วย นอกจากนั้นยังพบว่าต�ารับเบญจกูล
มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันโดยสามารถกระตุ้นการท�างานของ NK cells และกระตุ้นการเพิ่มจ�านวนของเม็ดเลือดขาว
ชนิดลิมโฟไซต์ได้ ซึ่งหมายถึงต�ารับนี้มีผลต่อระบบภูมิต้านทานในผู้ป่วยมะเร็ง อีกทั้งยังพบว่าเบญจกูลมีฤทธิ์ยับยั้ง
การอักเสบดีกว่ายาแผนปัจจุบัน ทั้งในระดับหลอดทดลองและในสัตว์ทดลองโดยสามารถยับยั้งการอักเสบทั้งแบบ
เฉียบพลันและแบบเรื้อรังโดยมีกลไกการออกฤทธิ์คล้ายกับยาในกลุ่มสเตียรอยด์ โดยเฉพาะเมื่อทดสอบในหนู พบว่า
ต�ารับยาเบญจกูลมีผลดีกว่ายาแก้อักเสบที่เป็นยาเสตียรอยด์ ชนิด Phenylbutazone ในขนาดยาที่เท่ากัน และยานี้
ยังสามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดหนอง ได้แก่ Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis และยังยับยั้ง
เชื้อรา Candida albicans ได้ และมีผลต่อฮอร์โมนเพศหญิงซึ่งผลในส่วนนี้สนับสนุนการใช้เบญจกูลในต�ารับยา