Page 86 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 86

ภาคผนวก     85



                ผลการวิจัยต�ารับยาสมุนไพรรักษามะเร็งของอโรคยศาลวัดค�าประมงและอาหารต้านมะเร็ง



            1. ต�ารับยอดยาแก้มะเร็งทุกชนิด
                    ต�ารับยอดยาแก้มะเร็งทุกชนิด ประกอบด้วยสมุนไพร จ�านวน 11 ชนิด คือ หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้
            หัวร้อยรู ก�าแพงเจ็ดชั้น ทองพันชั่ง เหงือกปลาหมอ หญ้าหนวดแมว ฝีหมอบ ไม้สักหิน โกฐจุฬาล�าพา และโกฐเชียง
            โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การวิจัยของ รศ.ดร.ภญ.อรุณพร อิฐรัตน์  ได้ท�าการทดสอบ
            ฤทธิ์ทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับมะเร็ง อาทิเช่น ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก
            มะเร็งต่อมลูกหมาก ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านเชื้อ แยกสารส�าคัญด้วยวิธีการ Bioassay Guided Isolation
            ทดสอบความคงตัวของสารสกัดและการหามาตรฐานของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบของต�ารับทุกตัว ผลการศึกษา
            วิจัยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของต�ารับยอดยาแก้มะเร็งทุกชนิดของอโรคยศาลวัดค�าประมง พบว่า มีฤทธิ์ฆ่าและยับยั้ง

            การเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยง โดยสารสกัดของต�ารับยอดยาแก้มะเร็งและสมุนไพรเดี่ยวในต�ารับ สามารถ
            ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงที่ท�าการทดสอบ ได้แก่ เซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MCF-7 เซลล์มะเร็ง
            ปากมดลูกชนิด HeLa เซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากชนิด PC3 และเซลล์มะเร็งปอดสองชนิด คือ ชนิด COR-L23 และ
            A549 โดยสารสกัดต�ารับยอดยามะเร็งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MCF-7 ได้ดีที่สุด
            โดยมีค่า IC  เท่ากับ 45.94   g/mL และไม่มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์ปกติของปอดชนิด MRC-5 ส�าหรับฤทธิ์ยับยั้ง
                       50
            เซลล์มะเร็งของสมุนไพรเดี่ยวที่เป็นพืชองค์ประกอบ พบว่า ไม้สักหิน ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
            เพาะเลี้ยงทุกชนิดโดยมีค่า IC50 น้อยกว่า 30   g/mL  มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MCF-7

            ได้ดีที่สุดโดยมีค่า IC  เท่ากับ 3.92   g/mL นอกจากนี้สารสกัดต�ารับยอดยามะเร็งยังมีฤทธิ์ยับยั้งอนุมูลอิสระได้ดี
                              50
            โดยสามารถต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) ดีกว่าสารต้านอนุมูลอิสระที่เป็น
            สารเคมีและที่นิยมใช้กันคือสาร Butylated hydroxytoluene (BHT) โดยมีค่า EC  เท่ากับ 4.99    g/mL การศึกษา
                                                                                50
            องค์ประกอบทางเคมีที่ส�าคัญที่มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งของต�ารับยอดยารักษามะเร็ง พบว่าสารส�าคัญชื่อ Tectoquinone
            ซึ่งเป็นสารที่เป็นองค์ประกอบหลักในไม้สักหิน มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็ง โดยมีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MCF-7 สูง
            ที่สุด โดยมีค่า IC  เท่ากับ 16.15   g/mL นอกจากนี้สารสกัดต�ารับยายอดมะเร็งยังมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ที่ก่อ
                           50
            ให้เกิดหนองอีกด้วย
                    นอกจากนี้คณะวิจัยของ  รศ.ดร.  สีวบูรณ์  สิรีรัฐวงศ์  คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
            ร่วมกับ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้การวิจัยของ รศ.ดร.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ ด�าเนินงานวิจัย

            การควบคุมคุณภาพสมุนไพรและสารสกัด  ตามข้อก�าหนดของเภสัชต�ารับ  (Pharmacopoeia)  และการใช้วิธี
            chromatographic fingerprints รวมถึงการตรวจสอบการปนเปื้อนจุลชีพ สารตกค้างจากยาฆ่าแมลง โลหะ
            หนักของยาต�ารับ ผลการวิเคราะห์คุณภาพของสมุนไพรตามข้อก�าหนดในเภสัชต�ารับพบว่า สมุนไพรมีคุณภาพ
            ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของเภสัชต�ารับ และผลการเตรียมสารสกัดน�้าของต�ารับ พบว่ามีปริมาณเท่ากับ 9.48% โดยน�้าหนัก
            เทียบกับน�้าหนักของวัตถุดิบ สารสกัดชั้นเอทานอลของต�ารับมีปริมาณเท่ากับ 6.88% โดยน�้าหนักเทียบกับน�้าหนัก
            ของวัตถุดิบ ผลการศึกษาวิจัยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของต�ารับยอดยาแก้มะเร็งทุกชนิด ของอโรคยศาล วัดค�าประมง
            พบว่า มีฤทธิ์ฆ่าและยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยง รวมถึงฤทธิ์ยับยั้งการกระตุ้นการเจริญของ

            เนื้องอกในสัตว์ทดลองอีกด้วย โดยสารสกัดต�ารับยอดยาแก้มะเร็งสามารถยับยั้งการเหนี่ยวน�าให้เกิดการเจริญของ
            เนื้องอกหนู จากแบบจ�าลองการศึกษามะเร็งสามชนิด คือ ผิวหนัง ล�าไส้ และตับ ผลการศึกษาพบว่า แบบจ�าลอง
            การเหนี่ยวน�าให้เกิดเนื้องอกบนผิวหนังของหนูถีบจักรโดยการทาผิวหนังหนูด้วยสาร  7,12  dimethylbenz(a)
            anthracene  (DMBA)  ครั้งเดียวและตามด้วยการทา  12-O-tetradecanoyl  phorbol-13  acetate  (TPA),
            การเหนี่ยวน�าให้เกิดเนื้องอกในล�าไส้โดยใช้สาร 1,2-dimethylhydrazine (DMH) และการเหนี่ยวน�ามะเร็งตับ
            ระยะส่งเสริมในหนูด้วยไดเอธิลไนโตรซามีน (DEN) ผลการศึกษาพบว่า สารสกัดยอดยาแก้มะเร็งสามารถยับยั้ง
            การเกิดเนื้องอกจากการเหนี่ยวน�าด้วยสารเคมีได้ทั้งหมด
                    ต�ารับยอดยาแก้มะเร็งของอโรคยศาลวัดค�าประมง ได้มีการศึกษาวิจัยพัฒนาส�าเร็จถึงขั้นผลิตเป็นยาเม็ด
            และแคปซูล ท�าให้สามารถควบคุมคุณภาพของการผลิตยาแต่ละครั้งได้อย่างคงที่ มีการศึกษาความคงตัวของยาตาม
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91