Page 18 - ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษ์ ตำรับยาแผนไทยของชาติที่เข้าตัวยากัญชา
P. 18
3. พยัญชนะต้นบางตัว เช่น ด ท ส อำจมีกำรใช้ตัว ต เขียนแทนตำมควำมนิยมของผู้บันทึก เช่น
ตะโพก - สะโพก
4. ใช้ไม้มลาย ในค�าที่เขียนด้วย สระไอ และ ใอ เช่น
รังปลวกไต้ดิน - รังปลวกใต้ดิน
ไบ - ใบ
กระทุ่มไหญ่ - กระทุ่มใหญ่
5. ไม่มีการเขียนไม้ไต่คู้ (–็) แทนสระเสียงสั้นลดรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด เช่น
เปน - เปน
ขี้เหลก - ขี้เหล็ก
ผักเปด - ผักเป็ด
ฝีเอน - ฝีเอ็น
เจบปวด - เจ็บปวด
คำงแขง - คำงแข็ง
เข้ำเยน - ข้ำวเย็น
มเรง - มะเร็ง
เบญจกเมง - เบญจกะเม็ง
เครื่องหมายวรรคตอนโบราณ
ขนบในกำรบันทึกข้อมูลของบรรพชนไทย มักใช้เครื่องหมำยโบรำณแบบต่ำง ๆ แสดงหน้ำที่และฐำนะ
ของข้อควำมที่มีเครื่องหมำยต่ำง ๆ ประกอบอยู่ดังนี้
1. ๏ เรียกว่ำ ฟองมัน ฟองดัน ตำโค หรือ ตำไก่ ใช้ส�ำหรับเริ่มต้นเรื่อง หรือขึ้นต้นข้อควำมใหม่ ได้ทั้งที่
เป็นวรรค บรรทัด หรือบท เช่น
“๏ สิทธิกำริยะ ...”
2. ๚, ฯ เรียกว่ำ อังคั่น ใช้ส�ำหรับคั่นข้อควำมแต่ละตอน หรือแต่ละหัวข้อ และให้จบข้อควำมย่อยก็ได้
เช่น
“ ...ให้แก้ดูตำมบุญ ๚ ”
“...แก้ตำนโจรตกเสมหะโลหิตก็หำย ๚ ”
3. ๛ เรียกว่ำโคมูตร และ ๚ะ๛ อังคั่น วิสรรชนีย์ โคมูตร ใช้ส�ำหรับแสดงว่ำ จบข้อควำมตอนนั้น
บรรทัดนั้น หรือ วรรคนั้นเรื่องนั้น เช่น
“...แก้จุกเสียด แก้ฤษดวงส�ำหรับอยู่เพลิงมิได้ ดีนักแล ๚ะ๛
“...แก้หืดนั้นก็หำยมำมำก วิเสศนัก ๚ะ๛
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทยพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแ -ฏ-